บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2019

videoplayback 1ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญา ๗ ประการนี้ อันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็น ที่สุด ๗ ประการเป็นไฉน คือ อสุภสัญญา ๑ มรณสัญญา ๑ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ สัพพโลเกอนภิรตสัญญา ๑ อนิจจสัญญา ๑ อนิจเจทุกขสัญญา ๑ ทุกเขอนัตต- *สัญญา ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า อสุภสัญญา อันภิกษุเจริญ แล้ว กระทำให้มาก ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะ เป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยอะไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุมีใจอัน อบรมแล้วด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับจาก การร่วมเมถุนธรรม ไม่ยื่นไปรับการร่วมเมถุนธรรม อุเบกขาหรือความเป็นของ ปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ เปรียบเหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขาใส่ลงในไฟ ย่อมหดงอ เข้าหากัน ไม่คลี่ออก ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอบรมแล้ว ด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมไหลไปในการร่วมเมถุนธรรม หรือความ เป็นของไม่ปฏิกูลตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า อสุภสัญญาอันเราไม่ เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลายของเราก็ไม่มี ผลแห่งภาวนาของ เราไม่ถึงที่ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงในอสุภสัญญานั้น ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ถ้าหากว่า เมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับ จากการร่วมเมถุนธรรม ไม่ยื่นไปรับการ ร่วมเมถุนธรรม อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อ นั้นดังนี้ว่า อสุภสัญญาอันเราเจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลาย ของเรามีอยู่ ผลแห่งภาวนาของเราถึงที่แล้ว เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นย่อมเป็นผู้รู้ ทั่วถึงในอสุภสัญญานั้น ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อสุภสัญญาอัน ภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่ อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยข้อนี้ ฯ ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย มรณสัญญาอันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็น ที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยอะไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุมีใจอันอบรม แล้วด้วยมรณสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับจาก การรักชีวิตไม่ยื่นไปรับความรักชีวิต อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ เปรียบเหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขาใส่ลงในไฟ ย่อมหดงอเข้าหากันไม่คลี่ออก ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอันไม่อบรมแล้วด้วยมรณสัญญาอยู่โดย มาก จิตย่อมไหลไปในความรักชีวิต หรือความเป็นของไม่ปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า มรณสัญญาอันเราไม่เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้น และเบื้องปลายของเราก็ไม่มี ผลแห่งภาวนาของเรายังไม่ถึงที่ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงในมรณสัญญานั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ถ้าเมื่อภิกษุมี ใจอันอบรมแล้วด้วยมรณสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับ จากการรักชีวิต ไม่ยื่นไปรับความรักชีวิต อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้ง อยู่ไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า มรณสัญญาอันเราเจริญแล้ว คุณวิเศษทั้ง เบื้องต้นและเบื้องปลายของเรามีอยู่ ผลแห่งภาวนาของเราถึงที่แล้ว เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นเป็นผู้รู้ทั่วถึงในมรณสัญญานั้น ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า มรณสัญญาอันภิกษุ เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยข้อนี้ ฯ ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาหาเรปฏิกูลสัญญาอันภิกษุเจริญ แล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยอะไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุ มีใจอันอบรมแล้วด้วยอาหาเรปฏิกูลสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับจากตัณหาในรส ไม่ยื่นไปรับตัณหาในรส อุเบกขาหรือความเป็นของ ปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ เปรียบเหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขาใส่ลงในไฟ ย่อมหดงอเข้า หากันไม่คลี่ออก ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วย อาหาเรปฏิกูลสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมไหลไปในตัณหาในรส หรือความเป็น ของไม่ปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า อาหาเรปฏิกูลสัญญาอัน เราไม่ได้เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลายของเราไม่มี ผลแห่ง ภาวนาของเรายังไม่ถึงที่ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงในอาหาเรปฏิกูล- *สัญญานั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอาหาเรปฏิกูล- *สัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับจากตัณหาในรส ไม่ยื่น ไปรับตัณหาในรส อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึง ทราบข้อนั้นดังนี้ว่า อาหาเรปฏิกูลสัญญาอันเราเจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้น และเบื้องปลายของเรามีอยู่ ผลแห่งภาวนาของเราถึงที่แล้ว เพราะฉะนั้น ภิกษุ นั้นเป็นผู้รู้ทั่วถึงในอาหาเรปฏิกูลสัญญานั้น ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาหาเรปฏิกูลสัญญาอันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยข้อนี้ ฯ ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัพพโลเกอนภิรตสัญญาอัน ภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก อานิสงส์มาก หยั่งลงสู่ อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้ว เพราะอาศัยอะไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยสัพพโลเกอนภิรตสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวน กลับ งอกลับ ถอยกลับจากความวิจิตรแห่งโลก ไม่ยื่นไปรับความวิจิตรแห่งโลก อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ เปรียบเหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขา ใส่ลงในไฟ ย่อมหดงอเข้าหากัน ไม่คลี่ออก ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้า เมื่อภิกษุมีใจอันไม่อบรมแล้วด้วยสัพพโลเกอนภิรตสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อม ไหลไปในความวิจิตรแห่งโลก หรือความเป็นของไม่ปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุ พึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญาอันเราไม่เจริญแล้ว คุณวิเศษ ทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลายของเราก็ไม่มี ผลแห่งภาวนาของเรายังไม่ถึงที่ เพราะ ฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงในสัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ถ้าหากว่าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยสัพพโลเกอนภิรตสัญญาอยู่โดย มาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับจากความวิจิตรแห่งโลก ไม่ยื่นไปรับ ความวิจิตรแห่งโลก อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึง ทราบข้อนั้นดังนี้ว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญาอันเราเจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้อง ต้นและเบื้องปลายของเรามีอยู่ ผลแห่งภาวนาของเราถึงที่แล้ว เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงเป็นผู้รู้ทั่วถึงในสัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย สัพพโลเกอนภิรตสัญญาอันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้ว เพราะอาศัยข้อนี้ ฯ ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนิจจสัญญาอันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะ เป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยอะไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมีใจอันอบรม แล้วด้วยอนิจจสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับ ไม่ยื่น ไปรับในลาภสักการะ และความสรรเสริญ อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูล ย่อมตั้งอยู่ เปรียบเหมือนขนไก่ หรือเส้นเอ็นที่เขาใส่ลงในไฟ ย่อมหดงอเข้า หากัน ไม่คลี่ออก ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้ว ด้วยอนิจจสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมไหลไปในลาภสักการะ และความ สรรเสริญ หรือความเป็นของไม่ปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ ว่า อนิจจสัญญาอันเราไม่เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นเบื้องปลายของเราไม่มี ผลแห่งภาวนาของเรายังไม่ถึงที่ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงใน อนิจจสัญญานั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอนิจจสัญญา อยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ งอกลับ ถอยกลับ ไม่ยื่นไปรับลาภ สักการะ และความสรรเสริญ อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึง ทราบข้อนั้นดังนี้ว่า อนิจจสัญญาอันเราเจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้อง ปลายของเรามีอยู่ ผลแห่งภาวนาของเราถึงที่แล้ว เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงเป็น ผู้รู้ทั่วถึงในอนิจจสัญญานั้น ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนิจจสัญญา อันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่ อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยข้อนี้ ฯ ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนิจเจทุกขสัญญาอันภิกษุเจริญ แล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะ เป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยอะไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมีใจอันอบรม แล้วด้วยอนิจเจทุกขสัญญาอยู่โดยมาก ภยสัญญา (ความสำคัญเป็นภัย) อย่างแรง กล้าในความเฉื่อยชา ในความเกียจคร้าน ในความท้อถอย ในความประมาท ใน การไม่ประกอบความเพียร ในการไม่พิจารณา ย่อมปรากฏ เปรียบเหมือน ความสำคัญว่าเป็นภัย ย่อมปรากฏในเมื่อเพชฌฆาตเงื้อดาบขึ้น ฉะนั้น ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอนิจเจทุกขสัญญาอยู่โดยมาก ภยสัญญาอย่างแรงกล้าในความเฉื่อยชา ในความเกียจคร้าน ในความท้อถอย ใน ความประมาท ในการไม่ประกอบความเพียร ในการไม่พิจารณา ย่อมไม่ปรากฏ เปรียบเหมือนความสำคัญว่าเป็นภัย ย่อมไม่ปรากฏในเมื่อเพชฌฆาตเงื้อดาบขึ้น ฉะนั้น ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า อนิจเจทุกขสัญญาอันเราไม่เจริญแล้ว คุณวิ- *เศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลายของเราไม่มี ผลแห่งภาวนาของเรายังไม่ถึงที่ เพราะ ฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงในอนิจเจทุกขสัญญานั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ถ้าว่า เมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอนิจเจทุกขสัญญาอยู่โดยมาก ภยสัญญา อย่างแรงกล้าในความเฉื่อยชา ในความเกียจคร้าน ในความท้อถอย ในความ ประมาท ในการไม่ประกอบความเพียร ในการไม่พิจารณา ย่อมปรากฏ เหมือน ความสำคัญว่าเป็นภัย ย่อมปรากฏในเมื่อเพชฌฆาตเงื้อดาบขึ้น ฉะนั้นไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า อนิจเจทุกขสัญญา อันเราเจริญแล้ว คุณวิเศษทั้ง เบื้องต้นเบื้องปลายของเรามีอยู่ ผลแห่งภาวนาของเราถึงที่แล้ว เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงเป็นผู้รู้ทั่วถึงในอนิจเจทุกขสัญญานั้น ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย อนิจเจทุกขสัญญาอันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยข้อนี้ ฯ ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทุกเขอนัตตสัญญาอันภิกษุเจริญ แล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยอะไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุ มีใจอันอบรมแล้วด้วยทุกเขอนัตตสัญญาอยู่โดยมาก ย่อมมีใจปราศจากทิฐิว่าเรา ตัณหาว่าของเรา และมานะทั้งในร่างกายที่มีใจครองนี้และสรรพนิมิตในภายนอก เสียได้ ก้าวล่วงกิเลส ๓ ประการ สงบระงับ หลุดพ้นได้เป็นอย่างดี ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยทุกเขอนัตตสัญญาอยู่โดยมาก ใจ ย่อมไม่ปราศจากทิฐิว่าเรา ตัณหาว่าของเรา และมานะทั้งในร่างกายที่มีใจครองนี้ และสรรพนิมิตในภายนอก ไม่ก้าวล่วงกิเลส ๓ ประการ ไม่สงบระงับ ยัง ไม่หลุดพ้นด้วยดีไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า ทุกเขอนัตตสัญญาอันเราไม่ เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลายของเราก็ไม่มี ผลแห่งภาวนาของเรา ยังไม่ถึงที่ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงในทุกเขอนัตตสัญญานั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ถ้าว่าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยทุกเขอนัตตสัญญาอยู่โดย มาก ย่อมมีใจปราศจากทิฐิว่าเรา ตัณหาว่าของเรา และมานะทั้งในร่างกาย ที่มีใจครองนี้และสรรพนิมิตในภายนอกเสียได้ ก้าวล่วงกิเลส ๓ ประการ สงบ ระงับ หลุดพ้นได้เป็นอย่างดีไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า ทุกเขอนัตตสัญญา อันเราเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่ อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยข้อนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญา ๗ ประการนี้แล อันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด ฯ จบสูตรที่ ๖ เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓ บรรทัดที่ ๑๐๗๖-๑๒๒๐ หน้าที่ ๔๘-๕๔. http://www.84000.org/tipitaka/_mcu/v.php?B=23&A=1076&Z=1220&pagebreak=0

รูปภาพ

ทางนิพพานทางนิพพาน-พุทโธอัปมาโณ www.tangnipparn.com สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ หากข้าพระพุทธเจ้า ... และผู้คนยังค้นหา ความ หลุดพ้น ธรรมที่นำไปสู่ความหลุดพ้น ทางนิพพาน https://www.silpathai.net › ทางนิพพาน 23 พ.ย. 2558 - เมื่อทราบทางมนุษย์ ทางสุคติ ทางทุคติ ทางสวรรค์ ทางนรกแล้ว ก็ควรทราบทางไปนิพพานต่อไป. ทางนิพพาน บางคนมีธุลีในนัยน์ตาน้อย คือมีกิเลสบาง ... ทางสู่นิพพานมีกี่สายคะ - Pantip https://pantip.com › topic ไปงานวิทยาศาสตร์ทางจิตมา มีวิทยากรท่านหนึ่งบอก คนส่วนใหญ่เชื่อว่าทางสู่ินิพพานมีแต่การฝึกสติปัฎฐาน 4 เพียงอย่างเดียว แต่ความจริงแล้วไม่ใช่ (เ่ช่น กสิณก็ไปได้เหม. รูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทางนิพพาน ดูทั้งหมด ภาพเพิ่มเติมสำหรับ ทางนิพพาน รายงานรูปภาพ ผลการค้นเว็บ นิพพาน - วิกิพีเดีย https://th.wikipedia.org › wiki › นิพพาน นิพพาน (บาลี: निब्बान nibbāna นิพฺพาน; สันสกฤต: निर्वाण nirvāṇa นิรฺวาณ) หมายถึง ความดับสนิทแห่งกิเลสและกองทุกข์ ... ทางไปพระนิพพาน - วัดพิชโสภาราม www.watpitch.com › 7-27-way-to-nirvana ทางไปพระนิพพาน หนทางสายที่ ๗ นี้ จะมีขึ้นก็ต่อเมื่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอุบัติบังเกิดขึ้นในโลก แล้ว ทรงประกาศสัจจธรรมชี้แนะแนวทางแห่งการปฏิบัติเพื่อ วิวัฏฏะ ... ทางนิพพาน - หน้าหลัก | Facebook https://th-th.facebook.com › เพจ › อื่นๆ › ชุมชน › ทางนิพพาน ทางนิพพาน. ถูกใจ 1931 คน · 2 คนกำลังพูดถึงสิ่งนี้. .. มาเถิด มาช่วยกันแผ้วถางทางเดิน สู่พระนิพพาน อันเป็นที่สุดแห่งธรรม. การปฏิบัติจิตใจตนให้เข้าสู่บันไดพระนิพพาน - Luangpochom::หลวงพ่อชม www.luangpochom.com › pochom75_2 ขั้นที่ ๕ คือให้ทำจิตให้ว่าง วางเฉยเสีย. ห้าขั้นนี้เป็นบันไดเข้าสู่พระนิพพาน ให้จิตใจเราผู้ปฏิบัติขึ้นตามสายทางบันไดดังที่กล่าวมานี้ ถึงจะเป็นบันไดทางพระนิพพานโดยถูกต้อง ... การนำทางหน้าเว็บ

รูปภาพ

ทำจิตอย่างนี้ทุกวันเป็นอรหันต์เองเราดำรงชีวิตอย่างคนเมือง แล้วเราจะเจริญปัญญาได้อย่างไร ใช้ปัญญานำสมาธิได้อย่างไร ขั้นแรกเลย คือ พยายามรู้เนื้อรู้ตัวไว้ก่อน ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่าน อย่าใจลอย ถ้าเราใจลอยมีกายก็ลืมกายมีใจก็ลืมใจเพราะฉะนั้นขั้นแรกเลยรู้สึกตัวให้เป็นก่อน พอรู้สึกตัวเป็น แล้วค่อยเจริญปัญญา #วิธีเจริญปัญญาของพวกดูจิต #คือมีตาก็ดูมีหูก็ฟังมีจมูกก็ดมกลิ่นมีลิ้นก็รู้รสมีกายก็กระทบสัมผัสความเย็นความร้อนความอ่อนความแข็งความตึงความไหวรู้สึกไป #เวลามีอะไรมากระทบในร่างกายแล้วเวลาใจมันคิดนึกปรุงแต่งก็รู้ทัน๗วัน๗ เดือน๗ปีแล้วแต่บุญวาสนา ถ้าเราภาวนา เรามีต้นทุนเดิมมาดี เรามีศีลมีธรรมมาแต่ก่อน มีสมาธิพอสมควร เรามาเจริญสติในชีวิตธรรมดานี้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจกระทบอารมณ์ ใจเราเปลี่ยน เราก็ดูไปทุกวันๆ #ถึงจุดหนึ่งกำลังมันพอศีลสมาธิปัญญามันสมบูรณ์ขึ้นมาจะเกิดอริยมรรคขึ้น พระธรรมเทศนาหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ศรีราชา วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ ไฟล์ 610610 ซีดีแผ่นที่ ๗๖ ติดตามข่าวสาร อ่านพระธรรมคำสอน และดาวน์โหลดไฟล์เสียง เว็บไซต์ทางการ: www.dhamma.com Facebook Page: fb.com/dhammateachings Instagram: instagram.com/dhammadotcom Line : @dhammadotcom หมวดหมู่ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความคิดเห็น 3 รายการ Sompong Tungmepol เพิ่มความคิดเห็นสาธารณะ... Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 3 เดือนที่ผ่านมา ทางสายตรงเข้าสู่พระนิพพาน Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 10 เดือนที่ผ่านมา ศาสนาพุทธ พระอรหันต์ (พระ-อะ-ระ-หัน; บาลี: arahant; สันสกฤต: अर्हत् arhat) คือ พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด สามารถละสังโยชน์ได้ครบ 10 ประการ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 9 เดือนที่ผ่านมา เราดำรงชีวิตอย่างคนเมือง แล้วเราจะเจริญปัญญาได้อย่างไร ใช้ปัญญานำสมาธิได้อย่างไร ขั้นแรกเลย คือ พยายามรู้เนื้อรู้ตัวไว้ก่อน ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่าน อย่าใจลอย ถ้าเราใจลอยมีกายก็ลืมกายมีใจก็ลืมใจเพราะฉะนั้นขั้นแรกเลยรู้สึกตัวให้เป็นก่อน พอรู้สึกตัวเป็น แล้วค่อยเจริญปัญญา #วิธีเจริญปัญญาของพวกดูจิต #คือมีตาก็ดูมีหูก็ฟังมีจมูกก็ดมกลิ่นมีลิ้นก็รู้รสมีกายก็กระทบสัมผัสความเย็นความร้อนความอ่อนความแข็งความตึงความไหวรู้สึกไป #เวลามีอะไรมากระทบในร่างกายแล้วเวลาใจมันคิดนึกปรุงแต่งก็รู้ทัน๗วัน๗ เดือน๗ปีแล้วแต่บุญวาสนา ถ้าเราภาวนา เรามีต้นทุนเดิมมาดี เรามีศีลมีธรรมมาแต่ก่อน มีสมาธิพอสมควร เรามาเจริญสติในชีวิตธรรมดานี้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจกระทบอารมณ์ ใจเราเปลี่ยน เราก็ดูไปทุกวันๆ #ถึงจุดหนึ่งกำลังมันพอศีลสมาธิปัญญามันสมบูรณ์ขึ้นมาจะเกิดอริยมรรคขึ้น พระธรรมเทศนาหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ศรีราชา วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ ไฟล์ 610610 ซีดีแผ่นที่ ๗๖ ติดตามข่าวสาร อ่านพระธรรมคำสอน และดาวน์โหลดไฟล์เสียง เว็บไซต์ทางการ: www.dhamma.com Facebook Page: fb.com/dhammateachings Instagram: instagram.com/dhammadotcom Line : @dhammadotcom

รูปภาพ

ทางโสดาบันเราดำรงชีวิตอย่างคนเมือง แล้วเราจะเจริญปัญญาได้อย่างไร ใช้ปัญญานำสมาธิได้อย่างไร ขั้นแรกเลย คือ พยายามรู้เนื้อรู้ตัวไว้ก่อน ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่าน อย่าใจลอย ถ้าเราใจลอยมีกายก็ลืมกายมีใจก็ลืมใจเพราะฉะนั้นขั้นแรกเลยรู้สึกตัวให้เป็นก่อน พอรู้สึกตัวเป็น แล้วค่อยเจริญปัญญา #วิธีเจริญปัญญาของพวกดูจิต #คือมีตาก็ดูมีหูก็ฟังมีจมูกก็ดมกลิ่นมีลิ้นก็รู้รสมีกายก็กระทบสัมผัสความเย็นความร้อนความอ่อนความแข็งความตึงความไหวรู้สึกไป #เวลามีอะไรมากระทบในร่างกายแล้วเวลาใจมันคิดนึกปรุงแต่งก็รู้ทัน๗วัน๗ เดือน๗ปีแล้วแต่บุญวาสนา ถ้าเราภาวนา เรามีต้นทุนเดิมมาดี เรามีศีลมีธรรมมาแต่ก่อน มีสมาธิพอสมควร เรามาเจริญสติในชีวิตธรรมดานี้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจกระทบอารมณ์ ใจเราเปลี่ยน เราก็ดูไปทุกวันๆ #ถึงจุดหนึ่งกำลังมันพอศีลสมาธิปัญญามันสมบูรณ์ขึ้นมาจะเกิดอริยมรรคขึ้น พระธรรมเทศนาหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ศรีราชา วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ ไฟล์ 610610 ซีดีแผ่นที่ ๗๖ ติดตามข่าวสาร อ่านพระธรรมคำสอน และดาวน์โหลดไฟล์เสียง เว็บไซต์ทางการ: www.dhamma.com Facebook Page: fb.com/dhammateachings Instagram: instagram.com/dhammadotcom Line : @dhammadotcom หมวดหมู่ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความคิดเห็น 3 รายการ Sompong Tungmepol เพิ่มความคิดเห็นสาธารณะ... Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 3 เดือนที่ผ่านมา ทางสายตรงเข้าสู่พระนิพพาน Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 10 เดือนที่ผ่านมา ศาสนาพุทธ พระอรหันต์ (พระ-อะ-ระ-หัน; บาลี: arahant; สันสกฤต: अर्हत् arhat) คือ พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด สามารถละสังโยชน์ได้ครบ 10 ประการ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 9 เดือนที่ผ่านมา เราดำรงชีวิตอย่างคนเมือง แล้วเราจะเจริญปัญญาได้อย่างไร ใช้ปัญญานำสมาธิได้อย่างไร ขั้นแรกเลย คือ พยายามรู้เนื้อรู้ตัวไว้ก่อน ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่าน อย่าใจลอย ถ้าเราใจลอยมีกายก็ลืมกายมีใจก็ลืมใจเพราะฉะนั้นขั้นแรกเลยรู้สึกตัวให้เป็นก่อน พอรู้สึกตัวเป็น แล้วค่อยเจริญปัญญา #วิธีเจริญปัญญาของพวกดูจิต #คือมีตาก็ดูมีหูก็ฟังมีจมูกก็ดมกลิ่นมีลิ้นก็รู้รสมีกายก็กระทบสัมผัสความเย็นความร้อนความอ่อนความแข็งความตึงความไหวรู้สึกไป #เวลามีอะไรมากระทบในร่างกายแล้วเวลาใจมันคิดนึกปรุงแต่งก็รู้ทัน๗วัน๗ เดือน๗ปีแล้วแต่บุญวาสนา ถ้าเราภาวนา เรามีต้นทุนเดิมมาดี เรามีศีลมีธรรมมาแต่ก่อน มีสมาธิพอสมควร เรามาเจริญสติในชีวิตธรรมดานี้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจกระทบอารมณ์ ใจเราเปลี่ยน เราก็ดูไปทุกวันๆ #ถึงจุดหนึ่งกำลังมันพอศีลสมาธิปัญญามันสมบูรณ์ขึ้นมาจะเกิดอริยมรรคขึ้น พระธรรมเทศนาหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ศรีราชา วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ ไฟล์ 610610 ซีดีแผ่นที่ ๗๖ ติดตามข่าวสาร อ่านพระธรรมคำสอน และดาวน์โหลดไฟล์เสียง เว็บไซต์ทางการ: www.dhamma.com Facebook Page: fb.com/dhammateachings Instagram: instagram.com/dhammadotcom Line : @dhammadotcom

รูปภาพ

การเกิดอริยมรรค

รูปภาพ
เราดำรงชีวิตอย่างคนเมือง แล้วเราจะเจริญปัญญาได้อย่างไร ใช้ปัญญานำสมาธิได้อย่างไร ขั้นแรกเลย คือ พยายามรู้เนื้อรู้ตัวไว้ก่อน ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่าน อย่าใจลอย ถ้าเราใจลอยมีกายก็ลืมกายมีใจก็ลืมใจเพราะฉะนั้นขั้นแรกเลยรู้สึกตัวให้เป็นก่อน พอรู้สึกตัวเป็น แล้วค่อยเจริญปัญญา #วิธีเจริญปัญญาของพวกดูจิต #คือมีตาก็ดูมีหูก็ฟังมีจมูกก็ดมกลิ่นมีลิ้นก็รู้รสมีกายก็กระทบสัมผัสความเย็นความร้อนความอ่อนความแข็งความตึงความไหวรู้สึกไป #เวลามีอะไรมากระทบในร่างกายแล้วเวลาใจมันคิดนึกปรุงแต่งก็รู้ทัน๗วัน๗ เดือน๗ปีแล้วแต่บุญวาสนา ถ้าเราภาวนา เรามีต้นทุนเดิมมาดี เรามีศีลมีธรรมมาแต่ก่อน มีสมาธิพอสมควร เรามาเจริญสติในชีวิตธรรมดานี้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจกระทบอารมณ์ ใจเราเปลี่ยน เราก็ดูไปทุกวันๆ #ถึงจุดหนึ่งกำลังมันพอศีลสมาธิปัญญามันสมบูรณ์ขึ้นมาจะเกิดอริยมรรคขึ้น พระธรรมเทศนาหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ศรีราชา วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ ไฟล์ 610610 ซีดีแผ่นที่ ๗๖ ติดตามข่าวสาร อ่านพระธรรมคำสอน และดาวน์โหลดไฟล์เสียง เว็บไซต์ทางการ: www.dhamma.com Facebook Page:...

การเกิดอริยมรรค

รูปภาพ
เราดำรงชีวิตอย่างคนเมือง แล้วเราจะเจริญปัญญาได้อย่างไร ใช้ปัญญานำสมาธิได้อย่างไร ขั้นแรกเลย คือ พยายามรู้เนื้อรู้ตัวไว้ก่อน ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่าน อย่าใจลอย ถ้าเราใจลอยมีกายก็ลืมกายมีใจก็ลืมใจเพราะฉะนั้นขั้นแรกเลยรู้สึกตัวให้เป็นก่อน พอรู้สึกตัวเป็น แล้วค่อยเจริญปัญญา #วิธีเจริญปัญญาของพวกดูจิต #คือมีตาก็ดูมีหูก็ฟังมีจมูกก็ดมกลิ่นมีลิ้นก็รู้รสมีกายก็กระทบสัมผัสความเย็นความร้อนความอ่อนความแข็งความตึงความไหวรู้สึกไป #เวลามีอะไรมากระทบในร่างกายแล้วเวลาใจมันคิดนึกปรุงแต่งก็รู้ทัน๗วัน๗ เดือน๗ปีแล้วแต่บุญวาสนา ถ้าเราภาวนา เรามีต้นทุนเดิมมาดี เรามีศีลมีธรรมมาแต่ก่อน มีสมาธิพอสมควร เรามาเจริญสติในชีวิตธรรมดานี้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจกระทบอารมณ์ ใจเราเปลี่ยน เราก็ดูไปทุกวันๆ #ถึงจุดหนึ่งกำลังมันพอศีลสมาธิปัญญามันสมบูรณ์ขึ้นมาจะเกิดอริยมรรคขึ้น พระธรรมเทศนาหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ศรีราชา วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ ไฟล์ 610610 ซีดีแผ่นที่ ๗๖ ติดตามข่าวสาร อ่านพระธรรมคำสอน และดาวน์โหลดไฟล์เสียง เว็บไซต์ทางการ: www.dhamma.com Facebook Page:...