วิธีการเข้าถึงพระนิพพาน#พระธรรมเทศนาโดยพระราชพรหมยานเถระหลวงพ่อฤๅษีวัดท่าซุง #คำสอนของพระพุทธศาสนามีอยู่ว่าเราสามารถทำกรรมดีในปัจจุบันเพื่อล้างบาปกรรมในอดีตได้เราจึงสามารถเปลี่ยนอดีตได้ #ด้วยเหตุนี้คนเคยทำบาปก็สามารถเป็นพระอรหันต์ได้ชีวิตของเราสามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยการทำกรรมดีในปัจจุบันv=njI_rbdl-YY https://www.youtube.com/watch?v=9xMtT... https://www.youtube.com/watch?v=GTVCe... https://www.youtube.com/watch?v=xMyut... https://www.youtube.com/watch?v=ukhEH... https://www.youtube.com/watch?v=lvATE... https://www.youtube.com/watch?v=XeR5D... https://www.youtube.com/watch?v=82qm2... https://www.youtube.com/watch?v=ZOKSk... https://www.youtube.com/watch?v=npxT7... https://www.youtube.com/watch?v=BuVhz... https://www.youtube.com/watch?v=_Macu... https://www.youtube.com/watch?v=lvATE... https://www.youtube.com/watch?v=mLGql... ละ...กามฉันทะกองเดียวไปนิพพาน พระราชพรหมยาน สรรพสัตว์ทุกชีวิตมีจิตวิญญาณ..ล้วน..วิวัฒนาการ..มาจากแสงที่ส่องมาจาก..ดวงอาทิตย์..ศีล..ข้อที่1...ห้ามทำร้าย..สัตว์..ห้ามฆ่าสัตว์..เด็ดขาดครับ...ศีลทั้งห้าข้อ..เว้นขาดครับ..เมื่อใกล้ตายจิตจะมารวมตัวกันเองโดยไม่ต้องบังคับ... เพราะจิตมีความชินกับการที่จิตเราจับอยู่ที่พระพุทธองค์ และพระนิพพานเสมอ... ให้เชื่อมั่นว่า... ตายเมื่อไหร่เราขึ้นพระนิพพานแน่..พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ เป็นพระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดท่าซุง (วัดจันทาราม) จังหวัดอุทัยธานี มีชื่อเสียงในด้านการบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานจนได้วิชามโนยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) หลังการมรณภาพ สังขารร่างกายของท่านมิได้เน่าเปื่อยอย่างศพของคนทั่วไป และได้มีการเก็บรักษาไว้ที่วัดท่าซุงจนถึงปัจจุบันนี้ http://www.watthasung.com/wat/viewthr... http://www.tangnipparn.com/Frameset-1... http://buddhasattha.com/2010/07/08/ http://nkgen.com/486.htm,วิธีพาตัวเรา... วิธีเจริญ กายคตาสติภาวนา http://www.nkgen.com/37.htm หมวดหมู่ แนวปฏิบัติและการใช้ชีวิต รายการถัดไป เล่นอัตโนมัติ 1:36:34 กำลังเล่น การเจริญกรรมฐาน ทางสู่พระนิพพาน - หลวงพ่อฤาษีลิงดำ DrSeripiput Srimuang การดู 5.7 แสน ครั้ง 7 ปีที่ผ่านมา 10:14:09 กำลังเล่น (สด) ร่วมบันทึกกำลังจักรพรรดิ ตั้งแต่เวลา 21:00 น ถึง 07:00 น เช้า ของวันพรุ่งนี้ สถานธรรมยางงาม การดู 1.9 พัน ครั้ง สตรีมแล้วเมื่อ 1 วันที่ผ่านมา ใหม่ 1:38:41 กำลังเล่น ปฏิจจสมุปบาท ตอนที่ 11 P.Santipalo การดู 738 ครั้ง สตรีมแล้วเมื่อ 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา 46:22 กำลังเล่น สมเด็จพระญาณสังวรฯ-จิตบรรลุนิพพาน dhamma osoth การดู 1 แสน ครั้ง 6 ปีที่ผ่านมา 26:38 กำลังเล่น ท่านผู้เฒ่าเล่าให้ฟัง Sompong Tungmepol การดู 8.9 หมื่น ครั้ง 8 ปีที่ผ่านมา 2:37:44 กำลังเล่น Wake Up One : สังคมอริยชน P.Santipalo การดู 4.5 พัน ครั้ง สตรีมแล้วเมื่อ 9 เดือนที่ผ่านมา 1:35:29 กำลังเล่น เตรียมเข้าสู่มัชฌิมาปฏิปทา ตอนที่ 3 P.Santipalo การดู 723 ครั้ง สตรีมแล้วเมื่อ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา 1:07:20 กำลังเล่น สถานที่ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ พุทธคยา - Bodhgaya P.Santipalo การดู 1.6 แสน ครั้ง 2 ปีที่ผ่านมา 3:01:43 กำลังเล่น ความลังเลสงสัย ที่ขวางความดี และเรื่อง ทุกขอริยสัจจ์ P.Santipalo การดู 9.8 พัน ครั้ง 10 เดือนที่ผ่านมา 2:01:57 กำลังเล่น มาฟังหลวงตา แจงสภาวะนิพพานที่ชัดเจนมาก (เริ่มที่ 1:38:02) A.S.B. หลวงตามหาบัว ธรรมะ ชาติ การดู 2.9 แสน ครั้ง 5 ปีที่ผ่านมา 1:30:35 กำลังเล่น 5 พื้นฐานข้อมูลสู่การเจริญสติปัฏฐาน P.Santipalo การดู 3.1 พัน ครั้ง 7 เดือนที่ผ่านมา 25:53 กำลังเล่น กายคตาสติกรรมฐาน#การพิจารณาร่างกาย Sompong Tungmepol การดู 8.2 หมื่น ครั้ง 8 ปีที่ผ่านมา 5:22:02 กำลังเล่น หลวงพ่อฤาษีลิงดำ เรื่อง ทางสายเข้าสู่พระนิพพาน Buddhism Channel การดู 2.2 แสน ครั้ง 3 ปีที่ผ่านมา 1:14:12 กำลังเล่น หลักการภาวนา จนจิตเข้าสู่ !! นิพพาน !! หลวงตามหาบัว ธรรมะ วัดป่า การดู 4.7 แสน ครั้ง 2 ปีที่ผ่านมา 25:04 กำลังเล่น ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจ Sompong Tungmepol การดู 2.6 แสน ครั้ง 8 ปีที่ผ่านมา 3:46:31 กำลังเล่น หลวงพ่อฤาษีลิงดำ เรื่อง ชุดกรรมฐาน 40 ย่อ ปี 2531 Buddhism Channel การดู 5.5 แสน ครั้ง 2 ปีที่ผ่านมา 1:00:18 กำลังเล่น การทำบุญถ้าทำง่าย ๆ ไว ๆ ถึงเวลาได้ก็จะได้ง่าย ๆ ไว ๆ ถ้ามัวแต่ช้าอยู่จะไม่ทัน Sompong Tungmepol การดู 1.1 แสน ครั้ง 3 ปีที่ผ่านมา 26:28 กำลังเล่น วิธีสร้างความผ่องใสให้กับจิตใจ Sompong Tungmepol การดู 6.1 แสน ครั้ง 8 ปีที่ผ่านมา 1:19:35 กำลังเล่น 26 ทางสู่พระนิพพาน หลวงตามหาบัว DrSeripiput Srimuang การดู 4 หมื่น ครั้ง 7 ปีที่ผ่านมา 1:44:08 กำลังเล่น หลวงพ่อฤาษีลิงดำ เรื่อง จริต 6 และวิธีใช้กรรมฐานให้ถูกกับจริต สายธารา ประภัสสร การดู 2.1 แสน ครั้ง 2 ปีที่ผ่านมา ความคิดเห็น 184 รายการ Sompong Tungmepol เพิ่มความคิดเห็นสาธารณะ... Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 เดือนที่ผ่านมา ทุกครั้งที่ทำความดี (ไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใด หรือยิ่งใหญ่เพียงไหนก็ตาม) ให้อธิษฐานขอไปพระนิพพาน ว่า...ด้วยกุศลผลบุญนี้ ขอจงเป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าเข้าสู่พระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ด้วยเถิด ... ภพภูมิอื่นใด ไม่ว่าจะเป็น อบายภูมิ โลกมนุษย์ สวรรค์ พรหม หรืออรูปพรหมก็ตาม ข้าพเจ้าไม่ปรารถนา...ข้าพเจ้าปรารถนาเพียงพระนิพพานเป็นที่สุด..ตายเมื่อไหร่ขอไปพระนิพพานเมื่อนั้น Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 เดือนที่ผ่านมา กราบหลวงพ่อครับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 7 ปีที่ผ่านมา สิ่งที่สำคัญที่สุด นั่นคือ ความเชื่อมั่น... เชื่อมั่นว่าพระนิพพานมีอยู่จริง... องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่านมีอยู่จริง... พระองค์ทรงเป็นผู้ที่ประทับอยู่บนพระนิพพานจริง... เมื่อเชื่อมั่นในสิ่งเหล่านี้แล้ว... ให้ลงมือปฏิบัติตามพระธรรมคำสั่งสอนที่พระองค์ท่านทรงชี้แนะเอาไว้... สิ่งนั้นคือ ขั้นตอนต่างๆ ที่ลัดที่สุด เร็วที่สุด ตัดตรงที่สุด ซึ่งมีดังนี้.. 10 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 5 ปีที่ผ่านมา สรรพสัตว์ทุกชีวิตมีจิตวิญญาณ..ล้วน..วิวัฒนาการ..มาจากแสงที่ส่องมาจาก..ดวงอาทิตย์..ศีล..ข้อที่1...ห้ามทำร้าย..สัตว์..ห้ามฆ่าสัตว์..เด็ดขาดครับ...ศีลทั้งห้าข้อ..เว้นขาดครับ..เมื่อใกล้ตายจิตจะมารวมตัวกันเองโดยไม่ต้องบังคับ... เพราะจิตมีความชินกับการที่จิตเราจับอยู่ที่พระพุทธองค์ และพระนิพพานเสมอ... ให้เชื่อมั่นว่า... ตายเมื่อไหร่เราขึ้นพระนิพพานแน่.. 10 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 7 ปีที่ผ่านมา 3. ทุกครั้งที่ทำความดี (ไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใด หรือยิ่งใหญ่เพียงไหนก็ตาม) ให้อธิษฐานขอไปพระนิพพาน ว่า...ด้วยกุศลผลบุญนี้ ขอจงเป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าเข้าสู่พระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ด้วยเถิด ... ภพภูมิอื่นใด ไม่ว่าจะเป็น อบายภูมิ โลกมนุษย์ สวรรค์ พรหม หรืออรูปพรหมก็ตาม ข้าพเจ้าไม่ปรารถนา...ข้าพเจ้าปรารถนาเพียงพระนิพพานเป็นที่สุด..ตายเมื่อไหร่ขอไปพระนิพพานเมื่อนั้น.. 6 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 6 ปีที่ผ่านมา เมื่อใกล้ตายจิตจะมารวมตัวกันเองโดยไม่ต้องบังคับ... เพราะจิตมีความชินกับการที่จิตเราจับอยู่ที่พระพุทธองค์ และพระนิพพานเสมอ... ให้เชื่อมั่นว่า... ตายเมื่อไหร่เราขึ้นพระนิพพานแน่นอน... 6 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 ปีที่ผ่านมา พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ เป็นพระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดท่าซุง (วัดจันทาราม) จังหวัดอุทัยธานี มีชื่อเสียงในด้านการบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานจนได้วิชามโนยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) หลังการมรณภาพ สังขารร่างกายของท่านมิได้เน่าเปื่อยอย่างศพของคนทั่วไป และได้มีการเก็บรักษาไว้ที่วัดท่าซุงจนถึงปัจจุบันนี้ http://www.watthasung.com/wat/viewthread.php?tid=1162 http://www.tangnipparn.com/Frameset-1.html http://buddhasattha.com/2010/07/08/ http://nkgen.com/486.htm,วิธีพาตัวเราออกจากสังสารวัฎ วิธีเจริญ กายคตาสติภาวนา http://www.nkgen.com/37.htm 12 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 5 ปีที่ผ่านมา สรรพสัตว์ทุกชีวิตมีจิตวิญญาณ..ล้วน..วิวัฒนาการ..มาจากแสงที่ส่องมาจาก..ดวงอาทิตย์..ศีล..ข้อที่1...ห้ามทำร้าย..สัตว์..ห้ามฆ่าสัตว์..เด็ดขาดครับ...ศีลทั้งห้าข้อ..เว้นขาดครับ..เมื่อใกล้ตายจิตจะมารวมตัวกันเองโดยไม่ต้องบังคับ... เพราะจิตมีความชินกับการที่จิตเราจับอยู่ที่พระพุทธองค์ และพระนิพพานเสมอ... ให้เชื่อมั่นว่า... ตายเมื่อไหร่เราขึ้นพระนิพพานแน่.. 6 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 5 ปีที่ผ่านมา ดังนั้น หนทางแห่งการรู้แจ้ง เพื่อดับทุกข์มีประการเดียว คือ เห็นความคิดปรุงแต่งว่าไม่มีใครในความคิดปรุงแต่งนั้น หรือไม่เป็นความคิดปรุงแต่งของใคร เป็นแต่เพียงสภาวธรรมหนึ่งเท่านั้น 5 Nidnoi Sensei Nidnoi Sensei 4 ปีที่ผ่านมา สาธุ สาธุ สาธุ กราบหลวงพ่อและขออนุโมทนาในธรรมทานค่ะ 3 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 5 ปีที่ผ่านมา ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว 3 Nahdol Nahdol 3 ปีที่ผ่านมา ท่านก็ได้ฝึกพิเศษตามแนววิชชาธรรมกายกับหลวงปู่สด วัดปากน้ำ จนได้ดิบได้ดีในภายหลัง 3 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 5 ปีที่ผ่านมา ปัญหาที่เผชิญอยู่เบื้องหน้าของทุกๆคน คือ ปัญหาเรื่องทุกข์และความดับทุกข์ มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ถูกความทุกข์เสียบอยู่ทั้งทางกายและใจ อุปมาเหมือนผู้ถูกยิงด้วยศร ซึ่งกำซาบด้วยยาพิษแล้ว ญาติมิตรเห็นเข้าเกิดความกรุณา จึงพยายามช่วยถอนลูกศรนั้นแต่บุรุษผู้โง่เขลาบอกว่าต้องไปสืบให้ได้เสียก่อนว่าใครเป็นคนยิง และยิงมาจากทิศไหน ลูกศรทำด้วยอะไร แล้วจึงค่อยมาถอนลูกศรออก ภิกษุทั้งหลาย บุรุษนั้นต้องตายเสียก่อนเป็นแน่แท้ ความจริงเมื่อถูกยิงแล้วหน้าที่ของเขาคือควรพยายามถอนลูกศรออกเสียทันที ชำระแผลให้สะอาดแล้วใส่ยารักษาแผลให้หายสนิท หรืออีกอุปมาหนึ่งบุคคลที่ไฟไหม้อยู่บนศีษะ ควรรีบดับเสียโดยพลันไม่ควรเที่ยววิ่งหาคนผู้เอาไฟมาเผาศรีษะตน ทั้งๆที่ไฟลุกไหม้อยู่” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังสารวัฏฏ์นี้เต็มไปด้วยเพลิงทุกข์นานาประการโหมให้ร้อนอยู่โดยทั่ว สัตว์ทั้งหลายยังวิ่งอยู่ในกองทุกข์แห่งสังสารวัฏฏ์ ใครเล่าจะเป็นผู้ดับ ถ้าทุกคนไม่ช่วยกันดับทุกข์แห่งตน อุปมาเหมือนบุรุษสตรีผู้รวมกันอยู่ในบริเวณกว้างแห่งหนึ่งและต่างคนต่างถือดุ้นไฟลุกโพลงอยู่ทั่วแล้ว ต่างคนต่างก็วิ่งวนกันอยู่ในบริเวณนั้น และร้องกันว่าร้อน ร้อน ภิกษุทั้งหลาย คราวนั้นมีบุรุษผู้หนึ่งเป็นผู้ฉลาดร้องบอกให้ทุกๆ คนทิ้งดุ้นไฟในมือของตนเสีย ผู้ที่ยอมเชื่อทิ้งดุ้นไฟก็ได้ประสบความเย็น ส่วนผู้ไม่เชื่อ ก็ยังคงวิ่งถือดุ้นไฟพร้อมร้องตะโกนว่า ร้อน ร้อน อยู่นั่นเอง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตได้ทิ้งดุ้นไฟแล้ว และร้องบอกให้เธอทั้งหลายทิ้งเสียด้วย ดุ้นไฟที่กล่าวถึงนี้ คือกิเลสทั้งมวลอันเป็นสิ่งที่เผาลนสัตว์ให้เร่าร้อนกระวนกระวาย” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย อายนะภายในหกคือ ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ อายตนะภายนอกหกคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพพะ และธัมมารมณ์ เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟ คือราคะบ้าง โทษะบ้าง โมหะบ้าง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตไม่พิจรนาเห็น รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ใดๆ ที่จะครอบงำรัดตรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะแห่งสรี ภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจรณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะใดๆ ที่สามารถครอบงำรัดตรึงใจของสตรีได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และ โผฏฐัพพะแห่งบุรุษ” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณนี้เรากล่าวว่าเป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นพวงดอกไม้แห่งมาร เป็นกำลังพลแห่งมารภิกษุผู้ปรารถนา พึงสลัดเหยื่อมาร ขยี้พวงดอกไม้แห่งมารและทำลายพลกำลังแห่งมารเสีย ภิกษุทั้งหลาย เราเคยเยาะเย้ยกามคุณ ณ โพธิมมณฑลในวันที่เราตรัสรู้นั้นเองว่า ดูก่อนกาม เราได้เห็นต้นเค้าของเจ้าแล้วเจ้าเกิดความดำริคำนึงถึงนั่นเอง เราจักไม่ดำริถึงเจ้าอีก ด้วยประการฉนี้ กามเอย เจ้าจะเกิดขึ้นอีกไม่ได้” 7 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 6 ปีที่ผ่านมา เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไ­­ม้ด้วยปัญญา เมื่อนั้น บุคคลนั้น ย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้าโศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ ไม่ต้องการด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มี ร่างกายอื่น 4 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 7 ปีที่ผ่านมา ยอมรับสภาพของชีวิตตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้น... เมื่อใกล้ตายจิตจะมารวมตัวกันเองโดยไม่ต้องบังคับ... เพราะจิตมีความชินกับการที่จิตเราจับอยู่ที่พระพุทธองค์ และพระนิพพานเสมอ... ให้เชื่อมั่นว่า... ตายเมื่อไหร่เราขึ้นพระนิพพานแน่นอน... 3 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 7 ปีที่ผ่านมา 2. มีศีล 5 (เป็นอย่างน้อย) 3 สำรวย ชูคง สำรวย ชูคง 4 ปีที่ผ่านมา ชอบหาธรรมะฟังครับ ขออนุโมทนาบุญด้วยครับ สาธุ สาธุ สาธุ 3 Thanakrit Seedajit Thanakrit Seedajit 3 ปีที่ผ่านมา สาธุขอบพระคุณครับหลวงพ่อ 3 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 ปีที่ผ่านมา สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท . 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 ปีที่ผ่านมา สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท . 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 ปีที่ผ่านมา สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท . 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 6 ปีที่ผ่านมา สุดท้ายคืนกายคืนใจให้โลกและธรรมชาติไป 3 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 7 ปีที่ผ่านมา *พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง* นิพพานัง ปรมัง สูญญัง... พระนิพพานเป็นที่ที่สูญจากกิเลส จากอวิชชาทั้งมวล จากพระธรรมทั้ง ๒ ประโยคนี้... ทำให้เราเชื่อมั่นได้ว่า พระนิพพานเป็นสถานที่ที่มีอยู่จริง ซึ่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่านประทับอยู่จริง... เมื่อเราเชื่อมั่นอย่างสุดจิตสุดใจว่า พระนิพพานมีจริง องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีพระองค์อยู่จริง... การที่เราจะได้มโนมยิทธิหรือไม่นั้น... ไม่ใช่สิ่งที่สำคัญที่สุด... 3 Home Cat Home Cat 3 ปีที่ผ่านมา 27 ตค.59 กราบหลวงปู่ค่ะ 3 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 5 ปีที่ผ่านมา เหตุแห่งการบรรลุธรรม(วิมุตติ) ธรรมะเหตุหรืออาการที่บรรลุ ๑.ขณะรับการแสดงธรรมจากพระศาสดาเพื่อนสพรหมจารีก็บรรลุธรรม ๒.ขณะภิกษุนั้นเองแสดงธรรมก็บรรลุธรรม ๓.ขณะภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับก็ได้บรรลุธรรม ๔.ขณะภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับก็บรรลุธรรม ๕.สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งเธอเล่าเรียนมาด้วยดีทำไว้ในใจด้วยดีทรงไว้ด้วยดีแทงตลอดด้วยดีด้วยปัญญา ก็บรรลุธรรม 2 สุภรัตน์ บัวดี สุภรัตน์ บัวดี 5 ปีที่ผ่านมา กราบหลวงพ่อเจ้าค่ะ 2 moltean sunee moltean sunee 3 ปีที่ผ่านมา พระนิพพานนั้น ไม่ยากอย่างที่คิด เพียงดูจิต ให้รู้ละ อย่าสงสัย ละพอใจ ไม่พอใจ อยู่ร่ำไป อีกไม่นาน ใจก็ว่าง ทางนิพพาน 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 ปีที่ผ่านมา ลัทธิที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าผิดหลักกรรมมีอยู่ ๓ ลัทธิ ลัทธิที่ ๑ คือ ปุพเพกตวาท ลัทธิกรรมเก่า ลัทธิที่ ๒ คือ อิศวรนิรมิตวาท ลัทธิที่ถือว่าพระผู้เป็นเจ้าบันดาล หรือเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่บันดาล ลัทธิที่ ๓ คือ อเหตุวาท ถือว่าความเป็นไปต่างๆ ไม่มีเหตุปัจจัย แล้วแต่โชคชะตา 6 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 ปีที่ผ่านมา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ผู้ใดผู้หนึ่ง พึงเจริญสติปัฏฐานทั้ง ๔ นี้ อย่างนี้ ตลอด ๗ ปี เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ ๗ ปี ยกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่งพึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้ อย่างนี้ตลอด ๖ ปี ... ๕ ปี ... ๔ ปี ... ๓ ปี ... ๒ ปี ... ๑ ปี เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือพระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ ๑ ปียกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่ง พึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้ อย่างนี้ตลอด ๗ เดือน เขาพึงหวังผล ๒ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ ๗ เดือนยกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่งเจริญสติปัฏฐานทั้ง ๔ นี้ อย่างนี้ ตลอด ๖ เดือน ..๕ เดือน ..๔ เดือน ..๓ เดือน ..๒ เดือน ..๑ เดือน ..กึ่งเดือน เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือพระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ กึ่งเดือนยกไว้ ผู้ใดเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้อย่างนี้ ๗ วัน เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์โทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน หนทางนี้คือสติปัฏฐาน ๔ ประการฉะนี้แล คำที่เรากล่าวดังพรรณนามาฉะนี้ เราอาศัยเอกายมรรคกล่าวแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นยินดีชื่นชมภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ว ฉะนี้แลฯ 7 thaidude thaidude 5 ปีที่ผ่านมา ธรรมใดที่ท่านบรรลุแล้วขอให้ข้าพเจ้าจงถึงแก่ธรรมนั้นด้วยเธอญ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 6 ปีที่ผ่านมา ภิกษุที่เหลือ ๕ องค์นั้น ครั้นถึงวันที่ ๗ จากวันที่ขึ้นไปสู่ภูเขาก็ยังไม่บรรลุคุณวิเศษไร ๆ จึงมรณภาพแล้วก็ไปเกิดในเทวโลก ฝ่ายพระเถระผู้เป็นขีณาสพก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง ท่านที่เป็นพระอนาคามีได้บังเกิดในพรหมชั้นสุทธาวาส เทพบุตรทั้ง ๕ เสวยทิพยสมบัติใน สวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้นกลับไปกลับมา 2 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 5 ปีที่ผ่านมา การสร้างบารมีของพระอริยะ(พระสาวก) การสร้างบารมีขงอพระอริยะ นั้นมีหลายแบบ ระยะเวลาในการสร้างบารมีก็ไม่เท่าเทียมกัน และการสร้างบารมีของพระอริยะ ก็คือการสร้างสมทศบารมี(บารมี 10 ทัศ)เหมือนกัน แต่ไม่ได้มากมายเท่ากับพระพุทธเจ้า เมื่อจัดลำดับการสร้างบารมีของพระสาวกก็สามารถจัดได้ดังนี้ 1.พระอริยะปกติสาวก 2.พระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 3.พระอรหันต์ผู้ทรงปฏิสัมภิทาญาณ 4.พระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญาและปฏิสัมภิทาญาณ 5.พระอรหันต์ผู้เป็นมหาสาวก 6.พระอริยะผู้เป็นพระอเสติ หรือเป็นเอกคทัคคะ 7.พระอรหันต์ผู้เป็นพระอเสติ 8.พระอรหันต์ผู้เป็นอัครสาวกเบื้องซ้ายและขวา 9.คำปทานของพระเถราที่สำคัญ 10.คำปทานของพระเถรีที่สำคัญ ตอนที่ 1 11.คำปทานของพระเถรีที่สำคัญ ตอนที่ 2 1.พระอริยะปกติสาวก นั้นระยะเวลาการสร้างบารมีไม่แน่นอน เช่นบางท่านตั้งความปรารถนาถึงซึ่งพระนิพพาน แต่ไม่ได้บำเพ็ญบารมีอย่างดี ก็ย่อมวนเวียนในวัฏสังขารเป็นเวลายาวนานหลังจากตั้งความปรารถนาไว้ จนจำไม่ได้ แต่บางท่านเมื่อตั้งความปรารถนาถึงซึ่งพระนิพพานแล้วได้บำเพ็ญบารมีอย่างดี ก็ย่อมวนเวียนในวัฏสังขารเป็นเวลาไม่นาน หลังจากที่ตั้งความปรารถนาไว้ บางท่านก็บรรลุเป็นพระอริยะเลยในชีวิตนั้น บางท่านก็บรรลุในชาติถัดๆ ไป บางท่านก็บรรลุในสมัยของพระพุทธเจ้าองค์ถัดๆ ไป ในเวลาอันไม่ไกลกันนัก ต่อไปขอยกคำตรัสของพระพุทธองค์ ที่ชี้ให้เห็นว่าผู้ที่ตั้งความปรารถนานิพพานในปัจจุบัน และสามารถบรรลุนิพพานในปัจจุบันชาติดังนี้ [๓๐๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ผู้ใดผู้หนึ่ง พึงเจริญสติปัฏฐานทั้ง ๔ นี้ อย่างนี้ ตลอด ๗ ปี เขาพึงหวังผล๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ ๗ ปี ยกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่งพึงเจริญสติปัฏฐาน๔ นี้ อย่างนี้ตลอด ๖ ปี ... ๕ ปี ... ๔ ปี ... ๓ ปี ... ๒ ปี ... ๑ ปี เขาพึงหวังผล๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลใน ปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่เป็นพระอนาคามี ๑ ๑ ปียกไว้ ผู้ใดผู้ หนึ่ง พึงเจริญสติปัฏฐาน๔ นี้ อย่างนี้ตลอด ๗ เดือน เขาพึงหวังผล ๒ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ ๗ เดือนยกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่งเจริญสติปัฏฐานทั้ง ๔ นี้ อย่างนี้ ตลอด ๖ เดือน ... ๕ เดือน ... ๔ เดือน ... ๓ เดือน ... ๒ เดือน ... ๑ เดือน ... กึ่ง เดือน เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่งคือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่เป็นพระอนาคามี ๑ กึ่งเดือนยกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่ง พึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้ อย่างนี้ตลอด ๗ วัน เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใด อย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็น พระอนาคามี ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่า สัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์โทมนัส เพื่อ บรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพานหนทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ ประการ ฉะนี้แล คำที่เรากล่าว ดังพรรณนามาฉะนี้ เราอาศัยเอกายนมรรคกล่าว แล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ยินดี ชื่นชมภาษิต ของพระผู้มีพระภาคแล้ว ฉะนี้แลฯ ตัวอย่าง พระเจ้าพิมพิสาร ที่ท่านได้เป็นพระโสดาบัน ตามพระอรรถกถากล่าวไว้ว่า ท่านได้สร้างบารมีตั้งแต่เริ่ม 90 กัปมาแล้ว ดังนั้นจำนวนของพระอริยะปกติสาวก จึงมีมากมายมหาศาลเป็นอย่างยิ่ง ในแต่ละพุทธสมัยก็จะมีจำนวนพระอริยะปกติถึงจำนวน อสงไขยๆ สัตว์ที่บรรลุนิพพาน และในยามที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน(สิ้นพระชนชีพ) ก็มีเห่ลาพระอริยะปกติสาวกนี้เหละ เป็นผู้สืบทอดต่ออายุของพระพุทธศาสนา ดำเนินต่อไปเป็นเวลายาวนานตามยุคตามสมัย 2.พระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา ผู้ที่ปรารถนาเป็นพระอรหันต์ผู้มีอภิญญาก็ต้องสร้างสมบารมีมากกว่าปกติ คือต้องสร้างบารมี 10 ทัศ แล้วต้องสร้างสมสมถะจนเชี่ยวชาญ จนได้อภิญญา ซึ่งต้องสร้างสมกันเป็นเวลาหลายๆ ชาติ จนข้ามกัป หรือใช้เวลาหลายๆ กัป จากที่ทราบมา ผู้ปรารถนาเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญาเพื่อประโยชน์แก่สัตว์ทั้งหลาย ต้องสร้างสมบารมีเป็นเวลาถึง หนึ่งหมื่นกัป (10,000 กัป) โดยประมาณ 3.พระอรหันต์ผู้ทรงปฏิสัมภิทาญาณ ผู้ที่ปรารถนาเป็นพระอรหันต์ผู้มีปฏิสัมภิทาญาณ ก็ต้องสร้างสมบารมีมากกว่าปกติ คือต้องสร้างบารมี 10 ทัศแล้ว ยังต้องสร้างสมปฏิสัมภิทาญาณต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งจะต้องสร้างสมกันเป็นเวลาหลายๆ ชาติจนข้ามกัป หรือใช้เวลาหลายกัป จากที่ทราบมา ผู้ที่ปรารถนาเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงปฏิสัมภิทาญานเพื่อประโยชน์แก่สัตว์ทั้งหลาย ต้องสร้างสมบารมีเป็นเวลาถึง หนึ่งหมื่นกัป(10,000 กัป) โดยประมาณ 4.พระอรหันต์ทรงอภิญญาและปฏิสัมภิทาญาณ จากที่ทราบมา พระอรหันต์ทรงอภิญญาและปฏิสัมภิทาญาณ ที่ไม่ได้เป็นมหาสาวกหรือเป็นพระอรหันต์ในสมัยที่ พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานไปแล้ว ต้องสร้างบารมีถึง หนึ่งหมื่นกัป หรือมากกว่านั้น โดยประมาณ และส่วนมากจะเป็นพระอรหันต์สาวกของพระพุทธเจัาในขณะที่พระองค์มีพระชนชีพอยู่ 5.พระอรหันต์ผู้เป็นมหาสาวก พระอรหันต์ผู้เป็นมหาสาวกส่วนมากจะทรงอภิญญาและปฏิสัมภิทาญาณพร้อม และเป็นพระอรหันต์ในขณะที่พระพุทธองค์มีพระชนชีพอยู่ จากที่ทราบมาต้องสร้างบารมีถึง หนึ่งแสนกัป โดยประมาณ ดังเช่นพระอภัยอรหันต์ ผู้เป็นพระโอรสองค์หนึ่งของพระเจ้าพิมพิสาร ก็ยังมีมหาสาวกบางท่านสร้างบารมีมายาวนานมากกว่า อสงไขย ก็มี (มีข้อมูลอ่านข้างล่าง) 6.พระอริยะผู้เป็นพระอเสติ หรือเป็นเอกคทัคคะ ได้แก่ฆารวาสอริยะที่ยังไม่บรรลุเป็นพระอรหันต์ แต่ได้รับการแต่งตั้งจากพระพุทธเจ้าว่าเป็นเอกหรือเอคทัคคะด้านใดด้านหนึ่ง ดังเช่น นางวิสาขา จิตตะเศรษฐี ซึ่งต้องสร้างสมสมบารมีอย่างน้อยที่สุด หนึ่งแสนกัป (100,000 กัป) หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่งในอดีต แต่ก่อนที่จะได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกนั้นอาจจะสร้างบารมีมายาวนานแล้ว จึงจะได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกได้ 7.พระอรหันต์ผู้เป็นพระอเสติ หรือเป็นเอกคทัคคะ ได้แก่พระอริยะภิกษุหรือพระอรหันต์ภิกษุและพระอรหันต์ภิกษุณี ที่ได้รับแต่งตั้งจากพระพุทธเจ้าว่าเป็นเอกหรือเอคทัคคะด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งต้องสร้างสมบารมีถึง หนึ่งแสนกัป (100,000 กัป) หรือมากกว่านั้น จนถึงอสงไขยกัป หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่งในอดีด แต่ก่อนที่จะได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกนั้นอาจจะสร้างบารมีมายาวนานแล้ว จึงจะได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกได้เช่น พระอานนท์ พระพักกุลละเถระ พระอุบลวรรณาเถรี พระโคตมีเถรี พระอนุรุท ฯลฯ ตัวอย่าง พระเถระและพระเถรีที่สร้างบามีเกิน 1 อสงไขยสมัยของพระสมณะโคตมพุทธเจ้าที่ค้นหาได้ซึ่งมีในพระไตรปิฏกฉบับภาษาไทย ได้นำมาสรุปให้ดู เมื่อ 4 อสงไขย แสนกัป พระทีปังกรพุทธเจ้า 1 พระนางยโสธราเถรี เป็นพระเทวีของพระสิทธัตตะ 2.พระเถรีหมื่นแปดพัน เคยเป็นสาวิกาของพระโพธิสัตว์ 3.พระเถรีหมื่นรูป เป็นพระญาติพระโพธิสัตว์ เมื่อ 3 อสงไขย แสนกัป พระโกณฑัญญะพุทธเจ้า 1.พระนิสเสณีทายกเถระ สร้างบันใด 2.พระอัพภัญชนทายกเถระ ถวายยาหยอดตา 3.พระสังกมนทาเถรี ทอดตนเป็นทางเดิน เมื่อ 2 อสงไขย แสนกัป พระสุมังคละพุทธเจ้า 1.พระติกัณฑิปุญทิยเถระ บูชาด้วยดอกคล้าว พระสุมนะพุทธเจ้า 2.พระสัตปัญณิยเถระ บูชาด้วยต้นตีนเป็ด 3.พระวัลลิการผลทายกเถระ ถวายแตง พระเรวตะพุทธเจ้า 4.พระเอกัญชลิยเถระ ไหว้ พระโสภิตะพุทธเจ้า 5.พระปทุมบูชาเถระ 6.พระพันธุชิวกเถระ ถวายดอกชบา 7.พระศิระปุนนาคิยเถระ ตวาดดอกบุญนาค เมื่อ 1 อสงไขย แสนกัป พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า *.พระสารีบุตร เป็นฤาษีมีศิษย์ 25,000 ท่าน ถวายดอกไม้ เป็นอัครสาวกเบื้องขวา *.พระโมคคลา เป็นพระยานาค ถวายภัตตาหารและปัจจัย เป็นอัครสาวกเบื้องซ้าย 1.พระพักกุลเถระ ถวายยา เป็นเอตทัคคะไม่มีโรคภัย 2.พระเบญจสิลสมาทานนิยเถระ 3.พระโสณโกฏิยเวสสเถระ ทำที่จงกรม เป็นเอตทัคคะ 4.พระอัมพทายเถระ เป็นวานรถวายมะม่วง 5.พระอนุโลมทายกเถระ 6..พระมักตทัตติเถระ 7.พระปานธทายกเถระ ถวายรองเท้า พระปทุมะพุทธเจ้า 8.พระสุปาริจริยเถระ เป็นเทวดา บูชา 9.พระอโสกปูชาเถระ ถวายดอกบัว 10.พระอังโกลปุปผิยเถระ พระนารถะพุทธเจ้า 11.พระนฬกุฏิกทายกเถระ สร้างกุฏิไม้อ้อ จะเห็นว่าพระอเสติ ที่สร้างบารมีอันยาวนานก็มีหลายท่าน ดังเช่นพระพักกุลเถระที่เป็นเอกคทัคคะไม่มีโรคภัย และพระโสณโกฏิยเวสสเถระ ก็ได้รับพุทธพยากรณ์ในสมัยเดียวกับพระสารีบุตรหรือพระโมคคัลลนะ พระอัครสาวกเบื้องขวาหรือซ้าย ดังนั้นวิเคราะห์ได้ว่าพระอเสติทั้งหลาย ไม่ใช่เพิ่งเริ่มสร้างบารมีเมื่อได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรก แต่ต้องสร้างบารมีมาก่อนหน้านั้นเพื่อให้ได้รับพุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่งเสียก่อน 8.พระอรหันต์ผู้เป็นอัครสาวกเบื้องซ้ายหรือขวา นั้นจะต้องสร้างบารมีเป็นเวลายาวนาน เป็นเวลาถึง หนึ่งอสงไขยกับเศษแสนมหากัป หลังจากได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกจากพระพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่งในอดีด แต่ก่อนที่จะได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกนั้นอาจสร้างบารมีเพื่อให้ได้รับพุทธพยากรณ์มาเป็นเวลานานแล้ว ดังเช่น พระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะ จากตัวอย่างของพระสารีบุตร ที่ท่านได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรกในสมัยของพระอโนทัศสีพุทธเจ้านั้น อดีดชาติของพระสารีบุตรสมัยนั้น เป็นฤาษีผู้ทรงอภิญญา 5 และมีศิษย์ ถึง 25000 ตน ซึ่งหมายความว่าก่อนที่จะได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกนั้นท่านได้สร้างสมบารมีมายาวนานก่อนหน้านั้นแล้ว ไม่ใช่ว่า จะมาเริ่มต้นสร้างบารมีหลังจากได้รับพุทธพยากรณ์ครั้งแรก สรุป การสร้างบารมีเพื่อเป็นพระอรหันต์ที่ทรงอภิญญาหรือ/และปฏิสัมภิทาญาณ ย่อมใช้เวลายาวนานกันทั้งนั้น และเป็นสร้างบารมีอย่างเอาจริงเอาจัง เมื่อบรรลุเป็นพระอรหันต์ ย่อมดำรงณ์คุณประโยชน์แก่สัตว์ทั้งหลายมากมายเป็นอย่างยิ่ง เหมือนพลุที่สองสว่างจำรัสจ้าด้วยแสงที่สวยสดงดงาม ให้สัตว์ทั้งหลายต่างเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน สืบทอดต่อไปจนจวบสิ้นอายุพุทธศาสนา 2 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 6 ปีที่ผ่านมา รู้ว่าฝันให้ตื่นทันที.. 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 5 ปีที่ผ่านมา . ดูกรภิกษุทั้งหลายสมัยใด เมื่อภิกษุหายใจ ออกยาว ก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว หรือเมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว เมื่อหาย ใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้นหรือเมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น สำเหนียก อยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับกายสังขาร หาย ใจเข้า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกาย มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวลมหายใจออก ลมหายใจเข้านี้ ว่าเป็นกายชนิดหนึ่งในพวกกาย เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่า พิจารณาเห็นกายในกายมีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ [3] ตั้งแต่ข้อ 1-4 จัดเรียกว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 1.หายใจเข้า-ออกยาวรู้ การกำหนดลมหายใจที่ปลายจมูกและริมฝีปากบน[4] 2.หายใจเข้า-ออกสั้นรู้ ชัดแจ้งในลักษณะของลมหายใจว่าบ้างสั้น บ้างยาว บ้างเบา บ้างหนัก (ด้วยอำนาจของสติสัมโพชฌงค์ คือสติที่สมบูรณ์ด้วยสัมปชัญญะ ทั้งสี่) 3.หายใจเข้า-ออก กำหนดกองลมที่กระทบในกายทั้งปวง เห็นอาการกระทบของลมหายใจกับกาย (สติพิจารณาอาการเป็นเป็นไปสกลกายทั้งหมดด้วยอำนาจของ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ การเลือกเฟ้นพิจารณาในธรรม เพราะศรัทธาพละและปัญญาพละสมดุลกัน จนเห็นรูปนามเป็นเพียงสักแต่ว่าเป็นธาตุตามธรรมชาติไม่ใช่สัตว์บุคลตัวตนเราเขา) 4.หายใจเข้า-ออก เห็นกองลมทั้งปวงสงบก็รู้ (จับลมหายใจไม่ได้เหมือนลมหายใจหายไป จิตเห็นรูปไปหายเหลือแต่นาม เห็นกองลมสงบด้วยอำนาจของวิริยะสัมโพชฌงค์ หรือการมีวิริยะที่สมดุล เพราะวิริยะพละและสมาธิพละสมดุลกัน จนจิตปราศจากนิวรณ์) เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน[แก้] ตั้งแต่ข้อ 5 - 8 สติเริ่มละเอียดจะจับชัดที่ความรู้สึกได้ชัดเจน จัดเรียกว่า เวทนานุปัสสนา จนสามารถแยกรูปนามออกจากกันได้ชัดเจน หรือ นามรูปปริทเฉทญาณ 5.หายใจเข้า-ออก กำหนดในความรู้สึกปีติ ( ปีติอันเกิดขึ้นด้วยอำนาจ ปีติสัมโพชฌงค์) 6.หายใจเข้า-ออก กำหนดในความรู้สึกสุข (ทั้งกายิกสุข สุขทางกายและเจตสิกสุข สุขทางใจ) 7.หายใจเข้า-ออก กำหนดรู้สึกตัวในจิตสังขาร รู้สึกตัวในอุเบกขาเวทนา (จิตสังขารคือเจตสิก ที่จรเข้ามาปรุงแต่งจิต มีเวทนาและสัญญาทั้งปวง) 8.หายใจเข้า-ออก จักระงับจิตตสังขาร (จิตตสังขารระงับด้วยอำนาจของ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ) จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน[แก้] ตั้งแต่ข้อ 9 - 12 สติเริ่มละเอียดจะจับชัดที่การรู้หรือที่อายตนะได้ดี อันเป็นวิญญาณขันธ์ได้ชัดเจน จัดเรียกว่า จิตตานุปัสสนา จนสามารถเท่าทันในเหตุปัจจัยของรูปนามได้ชัดเจน หรือ นามรูปปัจจยปริคคหญาณ 9.หายใจเข้า-ออก พิจารณาจิต 10.หายใจเข้า-ออกจิตบันเทิงร่าเริง 11.หายใจเข้า-ออก จิตตั้งมั่น (จิตมีสัมมาสมาธิ(จิตตั้งมั่นมีสมาธิด้วยอำนาจของ สมาธิสัมโพชฌงค์ ) 12.หายใจเข้า-ออก จักเปลื้องจิต ก็รู้ (จิตปลดเปลื้องในจากกิเลสอารมณ์ต่างๆมี อภิชฌาและปฏิฆะ เป็นต้น จิตเป็นอุเบกขา ด้วยอำนาจของ อุเบกขาสัมโพชฌงค์) ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน[แก้] ตั้งแต่ข้อ 13 - 16 สติละเอียดมากจนพิจารณารูปนามเพราะปรากฏชัดอยู่ในธัมมารมณ์(สิ่งที่เกิดขึ้นในใจหรือมนายตนะ มี 3 อย่าง คือ เวทนา สัญญา สังขาร ธรรมในความหมายนี้หมายเอาความนึกคิดซึ่งก็คือการพิจารณานั้นเอง) จัดเรียกว่า ธัมมานุปัสสนา พิจารณาเห็นว่ารูปนามเป็นไปตามกฎไตรลักษณ์ 13.หายใจเข้า-ออก พิจารณาเห็นความไม่เที่ยง (อนิจจัง) ในขันธ์ทั้ง 5 มีลมหายใจเป็นตัวแทนรูปขันธ์ จะพบเห็นสังขตลักษณะ(ความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป )ในขันธ์ทั้งห้า (สมมสนญาณ อุทธยัพพยญาณ ภังคญาณ) 14.หายใจเข้า-ออก พิจารณาโดยความคลายกำหนัดในรูปนาม เห็นรูปนามเป็นสิ่งไร้ค่า (ภยญาณ อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ) 15.หายใจเข้า-ออก พิจารณาโดยไม่ยึดติดถือมั่นในรูปนามขันธ์ห้าว่าไม่ใช่ตัวตน เพราะเห็นความดับไปแห่งปฏิจจสมุปบาท (มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุเปกขาญาณ) 16.หายใจเข้า-ออก พิจารณาสละคืน (ตั้งแต่สัจจานุโลมมิกญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ) ศึกษาคำอธิบายอานาปานสติ 16 ฐานอย่างละเอียดจากพระไตรปิฎกโดยตรงที่พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค อานาปาณกถา [๔๐๑]- [๔๒๒] อานาปานะสติแบ่งตามกรรมฐาน ข้อ 1-2 จัดว่าเป็นสมถกัมมัฏฐาน (อานาปานะสติท่านกล่าวว่าเป็นสมถกรรมฐานที่เป็นรากฐานของวิปัสสนากัมมฐานดีที่สุด เพราะมีอารมณ์เป็นไปกับด้วยปัจจุบันขณะและมีบัญญัติเป็นปรมัตถ์) ข้อ 3 - 16 จัดว่าเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่านกล่าวว่าถ้าดูที่ลมหายใจ ก็ยังจัดว่าเป็นสมถะอยู่ แต่เมื่อยกสติพิจารณารูปนามแล้ว มีกายเป็นต้นจึงชื่อเป็นวิปัสสนาแท้ อานาปานะสติแบ่งตามขันธ์ห้า ข้อ3-4เป็นรูปขันธ์ ข้อ5-6เป็นเวทนาขันธ์ (มีเพียงปีติและสุข) ข้อ7-8เป็นสังขารขันธ์ (เฉพาะจิตตสังขาร) ข้อ9-10เป็นวิญญาณขันธ์ ข้อ11-16เป็นสัญญาขันธ์และสังขารขันธ์(ทั้งกายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร) อ้างอิง[แก้] สติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ สติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต สติปัฏฐานสูตร สังยุตตนิกาย อรรถกถา ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร. อรถกถาพระไตรปิฎก. มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค สูตรที่ ๔ ผลสูตรที่ ๑ พระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค อานาปานสังยุต อวิชชาสูตร ๑๙/๑ คิริมานนทสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์๘. อานาปานสติสูตร (๑๑๘) อานาปานสติสูตร ที่ ๘ อานาปานสติสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ (ม.อุ. มหาราหุโลวาทสูตร ที่ ๒. ทีปสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค มหาวรรค อานาปาณกถา พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค [๓๖๒] -[๔๒๑] ปฏิสัมภิทามัคค์ (ขุ.ปฏิ.31/362/244: 387/260 คัมภีร์ ปรมัตถมัญชุสา มหาฎีกาแห่งวิสุทธิมัคคฺ (วิสุทฺธิ.ฏีกา 2/34) วิสุทธิมัคค์ (วิสุทฺธิ. 25/52-82 พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค อานาปาณกถา พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๒ หน้าที่ 85 - 196 5 สุดท้ายทางธรรม สงบร่มเย็น สุดท้ายทางธรรม สงบร่มเย็น 4 ปีที่ผ่านมา DVDเสียงธรรมหลวงพ่อฤาษีลิงดำ ฉบับสมบูรณ์ (แจกฟรี)หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง. เป็นลูกศิษย์หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค รวมเสียงธรรมะหลวงพ่อฤาษีลิงดำภายในแผ่นกว่า 1000 ไฟท์ ประกอบด้วย ธรรมะหลวงพ่อฤาษีลิงดำ ก.พระวินัยย่อและธรรมปฏิบัติฯ ข.มหาสติปัฏฐานสูตร ค.กรรมฐาน 40 ง.การฝึกอารมณ์ให้เข้าถึงความเป็นพระอริยะแบบสุกขวิปัสสโก จ.เทศน์ถวายเรื่องจริต 6 และวิธีใช้กรรมฐานให้ถูกกับจริต ฉ.บารมี 10 ทัศและวิปัสสนาญาณ 9 ช.การฝึกปฏิบัติแบบเตวิชโช ซ.การฝึกปฏิบัติแบบฉฬภิญโญ ฌ.การฝึกปฏิบัติแบบปฏิสัมภิทัปปัตโต ญ.ผลแห่งการทำบาปอกุศล ฎ.ประสบการณ์ฝึกมโนมยิทธิของรัชนี เจนรถา ฏ.ปกิณกธรรม ฐ.ธรรมะจากพระสูตร ฒ.บุคคลตัวอย่างที่ควรยึดถือเป็นหลักในการปฏิบัติ ณ.พระสูตรเพื่อการศึกษาปฏิบัติธรรม ด.มหาชาดก (ทศชาติ) ต.สอนพระกรรมฐานในพรรษาปี 2521 ถ.หมวดฝึกมโนมยิทธิ ท.เทปออกใหม่ ปี 2527ธ.เทปออกใหม่ชุดกรรมฐาน 40 (ย่อ) ปี 2531 น.เทปบันทึกลงหนังสืออ่านเล่น บ.หมวดทั่วไป 11 สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ 4 ปีที่ผ่านมา ละ...กามฉันทะกองเดียวไปนิพพาน พระราชพรหมยาน 1 เตือนภัย ส่องวินัยจราจร เตือนภัย ส่องวินัยจราจร 4 ปีที่ผ่านมา กราบสาธุๆๆในโอวาทธรรม ครับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 7 ปีที่ผ่านมา 5. พิจารณาตัดขันธ์ 5 และพิจารณาถึงความทุกข์ ความไม่เที่ยงของสรรพสิ่งต่างๆ อยู่เสมอ... เมื่อทุกข์ขนาดนี้แล้ว มีแต่โรคภัยไข้เจ็บแบบนี้ ต้องกระทบกระทั่งกับสิ่งที่ไม่ชอบใจ ไม่พอใจทั้งหลาย ต้องพลัดพรากจากคนที่เรารักและคนที่รักเรา... สิ่งเหล่านี้มันทุกข์ใช่ไหม... เมื่อทุกข์ขนาดนี้แล้วเรายังอยากที่จะเวียนว่ายตายเกิดอีกหรือไม่ 1 Otto'sFR13NDS Otto'sFR13NDS 4 ปีที่ผ่านมา ขอบคุณครับ 1 Bormee Pai Bormee Pai 4 ปีที่ผ่านมา thankyou for this upload.. deeply appreciate it. () tamada samata tamada samata 4 ปีที่ผ่านมา นอบน้อมกราบอนุโมทนาสาธุธรรมองค์หลวงพ่อครับ...สาธุ สาธุ สาธุ 3 prasit meesuk prasit meesuk 3 ปีที่ผ่านมา สาธุๆๆครับ 3 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 1 ปีที่ผ่านมา เมื่อใกล้ตายจิตจะมารวมตัวกันเองโดยไม่ต้องบังคับ... เพราะจิตมีความชินกับการที่จิตเราจับอยู่ที่พระพุทธองค์ และพระนิพพานเสมอ... ให้เชื่อมั่นว่า... ตายเมื่อไหร่เราขึ้นพระนิพพานแน่นอน... Rachanok Watthasung Rachanok Watthasung 4 ปีที่ผ่านมา สาธุเจ้าค่ะ 1 Rachanok Watthasung Rachanok Watthasung 4 ปีที่ผ่านมา สาธุเจ้าค่ะ 1 คณิต แสนโคตร คณิต แสนโคตร 3 ปีที่ผ่านมา สาธุครับ 3 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 4 ปีที่ผ่านมา พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ เป็นพระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดท่าซุง (วัดจันทาราม) จังหวัดอุทัยธานี มีชื่อเสียงในด้านการบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานจนได้วิชามโนยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) หลังการมรณภาพ สังขารร่างกายของท่านมิได้เน่าเปื่อยอย่างศพของคนทั่วไป และได้มีการเก็บรักษาไว้ที่วัดท่าซุงจนถึงปัจจุบันนี้ http://www.watthasung.com/wat/viewthread.php?tid=1162 http://www.tangnipparn.com/Frameset-1.html http://buddhasattha.com/2010/07/08/ http://nkgen.com/486.htm,วิธีพาตัวเราออกจากสังสารวัฎ วิธีเจริญ กายคตาสติภาวนา http://www.nkgen.com/37.htm 1 Ka Jon Ka Jon 4 ปีที่ผ่านมา อนุโทนา สาธุๆๆ 1 Kaewlun Wongsuwattananan 1 ปีที่ผ่านมา น้อมกราบหลวงพ่อขออนุโมทนาบุญด้วยเจ้าคะกราบสาธุสาธุสาธุเจ้าคะได้ฟังธรรมอันประเสริฐได้ปติบัดตามกราบสาธุสาธุเจ้าคะ🙏🙏🙏🍀🌺🌹💖 Jun Buabao 8 เดือนที่ผ่านมา ลูก​ขอ​กราบ​ขอบพระคุณ​หลวงพ่อ​ฤาษีลิง​ด​ำ​ครับ​🙏 สาธุ​ สาธุ​ สาธุ​ ครับ​🙏 🙏 🙏 🌷 🌼 🍀 พุทธรักษ์ อ่าวสุคนธ์ 4 ปีที่ผ่านมา สาธุ สาธุ สาธุ ขออนุโมทนาในทุกๆหัวข้อธรรมที่ได้เผยแพร่ธรรมะแห่งองค์พระศาสดา ขออนุโมทนาค่ะ รายการแสงธรรมสู่นิพพาน ทุกวันเสาร์เวลา03.00 - 04.00 น. ทางสถานีวิทยุทหารอากาศ 01 มีนบุรี ระบบ AM คบามถึ่ 945 khz. 1 สมชาย คมใส 2 เดือนที่ผ่านมา ด้วยสัจจะบารมีเเละ อธิฐานบารมีภานุภาพเเหุ่งบุญนั้นขอให้ข้าพเจ้าสำเร็จอนุตรสัมมาสัมโพธิญานตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนา ตคตกาลเบืองหน้าโน้นเถิด bobby jung 3 ปีที่ผ่านมา สาธุ ครับ 1 Sompong Tungmepol 4 ปีที่ผ่านมา พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน 7 Sompong Tungmepol 7 ปีที่ผ่านมา 1. ไม่สงสัย เชื่อมั่น และเคารพ พระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งสูงสุด (สุดจิตสุดใจ) ตลอดชีวิต ... ซึ่งความเชื่อนี้ รวมไปถึงพระธรรมคำสอนในข้อที่ว่า... นิพพานัง ปรมัง สุขัง... 1 Thanakrit Seedajit 3 ปีที่ผ่านมา สาธุขอบพระคุณครับหลวงพ่อ Sompong Tungmepol 6 ปีที่ผ่านมา บุรพกรรมในสมัยพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า ต่อมา ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่ากัสสปะ เขาได้บังเกิดในตระกูลแห่งหนึ่ง Sompong Tungmepol 6 ปีที่ผ่านมา 2 สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ 4 ปีที่ผ่านมา คำพูดเป็นประโยชน์ ๑๐ เรื่อง เรื่องที่ควรพูด ๑๐ ประการ อันเป็นไปเพื่อขูดเกลากิเลส คือ เรื่องปรารถนาน้อย เรื่องสันโดษ เรื่องความสงบสงัด เรื่องไม่คลุกคลี เรื่องมีความเพียร เรื่องศีล เรื่องสมาธิ เรื่องปัญญา เรื่องวิมุตติ เรื่องวิมุตติญาณทัสสนะ 4 Sompong Tungmepol 1 ปีที่ผ่านมา ฉันจะเก็บของฉันไปจนหมด ฉันเก็บลูกศิษย์ของฉันครบแน่

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ทางไปสู่พระนิพพาน 18 ธ ค 57 ค่ำ โดยหลวงพ่ออินทร์ถวาย ณ สวนแสงธรรม

สภาพของเรา#พระโสดาบันคือท่านผู้เห็นความจริงว่าตัวเราไม่มี #เรียกว่าละสกายทิฐิได้ท่านเห็นว่าตัวเราไม่มีนะกายนี้ไม่ใช่เราใจนี้ไม่ใช่เรา ในกายนี้ ในใจนี้ ไม่มีตัวเรา กายนี้ใจนี้ก็ไม่ใช่ตัวเรา ไม่มีตัวเรานอกเหนือจากกายจากใจนี้อีก #สิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นตัวเราอยู่ตลอดเวลาก็คือกายนี้ใจนี้เท่านั้นแหละ รูปนาม ขันธ์๕ อายตนะ๖ ธาตุ๑๘ แล้วแต่จะเรียกนะ รวมความง่ายๆ ก็คือ รูปกับนาม คือกายกับใจนี่เอง เราเห็นว่ามันเป็นตัวเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถพัฒนาจิตใจ จนเราเห็นความจริงนะว่าตัวเราไม่มีหรอก กายนี้ไม่ใช่เราใจนี้ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกายในใจนี้ ไม่มีเรานอกเหนือกายนอกเหนือใจนี้ เราก็จะได้เป็นพระโสดาบัน เป็นผู้เที่ยงต่อการตรัสรู้ในวันข้างหน้า วันหนึ่งก็เป็นพระอรหันต์ เหมือนคนตกลงในกระแสน้ำนะ น้ำพัดพาไปนะ วันหนึ่งไปถึงทะเล ทำยังไงเราถึงจะสามารถเห็นได้ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรานะ พระพุทธเจ้าท่านเคยสอนบอกว่า คนในศาสนาอื่นเค้าสามารถเห็นได้ว่า กายไม่ใช่เรา มีแต่คำสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้นนะ ถึงจะพัฒนาจิตใจเรา จนเราเห็นความจริงว่า จิตก็ไม่ใช่เรา ไม่มีเรา อย่างคนที่เรียนกับหลวงพ่อนะ ซักเดือนสองเดือนเนี่ย สามารถเห็นได้แล้วว่ากายไม่ใช่เรา แต่ส่วนมากก็ยังเห็นว่าจิตเป็นเราอยู่ ถ้าวันใดเห็นว่าจิตก็ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกาย ไม่มีเราในจิต ก็ได้ธรรมะ เป็นปลอดภัย ไม่ไปอบายละ ชีวิตมีความสุข มีความสงบ มีความมั่นคง กิเลสหายไปหลายสิบเปอร์เซ็นต์ ทีนี้ทำยังไง เราจะสามารถเห็นว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่เรานะ เรามาดูของจริง การดูของจริงของกายของใจเรียกว่า “การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน” การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน ต้องเห็นความจริงของกายของใจ ไม่ใช่เห็นกายเห็นใจนะ พวกเราอย่าตื้น บางคนตื้นเกินไป คิดว่าแค่รู้กาย แค่รู้ใจก็คือการทำวิปัสสนากรรมฐาน....ไม่ใช่ วิปัสสนากรรมฐานต้องเห็นความจริงของกายของใจ ความจริงของกายของใจคือไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อนิจจังก็คือสิ่งซึ่งมันเคยมีแล้วมันไม่มี สิ่งซึ่งเคยไม่มีมันกลับมีขึ้นมานี่เรียกว่า อนิจจัง ทุกขัง คือ มันทนอยู่ไม่ได้นะ มันถูกสภาวะที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยของมันเนี่ยเคลื่อนไหวเปลี่ยนไป พอเหตุของมันเปลี่ยนนะ ตัวมันทนอยู่ไม่ได้นะ ถูกบีบคั้น ทนอยู่ไม่ได้ในภาวะอันใดอันหนึ่ง เรียกว่า ทุกขัง อนัตตา ก็คือ มันจะเกิดขึ้น มันจะตั้งอยู่ หรือมันจะดับไป เป็นไปเพราะเหตุ ไม่ใช่เพราะเราสั่ง เราบังคับไม่ได้ อยู่นอกเหนือการบังคับ นี่เรียกได้ว่าอนัตตา ถ้าสามารถเห็นได้ว่า กายนี้ใจนี้เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่ง ไม่ต้องเห็นทั้งสามอย่าง เห็นเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง จิตก็สามารถปล่อยวาง ความยึดถือกายยึดถือใจได้ในที่สุด แต่ในเบื้องต้นก็จะเห็นก่อนว่า กายนี้ใจนี้ไม่ใช่เรา ถึงจะเห็นว่าไม่ใช่เราแต่ก็ยังไม่ปล่อยวาง พระโสดาบันเนี่ย ท่านเห็นความจริงแล้วว่าตัวเราไม่มี กายนี้ไม่ใช่เรา ใจนี้ไม่ใช่เรา กายนี้เป็นวัตถุธาตุที่ยืมโลกมาใช้ จิตใจก็เป็นธาตุเรียกว่าธาตุรู้ ธาตุรู้เนี่ยเกิดดับๆ สืบเนื่องกันไปเรื่อยๆ ก็ไม่ใช่ตัวเรา แต่ท่านยังยึดถืออยู่นะ ยังเห็นว่า กายนี้ใจนี้ยังนำความดีงามมาให้ได้ ยังรักมันอยู่ ยังนำความสุขมาให้ได้ ต้องเจริญสติต่อไปอีกนะ รู้กายรู้ใจๆ เรื่อยไป ถึงวันหนึ่ง ถึงจะเห็นความจริงว่า กายนี้ใจนี้มีแต่ทุกข์ล้วนๆ ทุกข์เพราะไม่เที่ยง ทุกข์เพราะทนอยู่ไม่ได้ ถูกบีบคั้น ทุกข์เพราะว่าไม่ใช่ตัวเรา บังคับมันไม่ได้ อยู่นอกเหนืออำนาจบังคับ ถ้าเห็นอย่างนี้นะก็จะปล่อยวาง ปล่อยวางเป็นพระอรหันต์ พระโสดาบันเนี่ยไม่ได้ยากเท่าไหร่ แค่รู้ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกายในใจ แต่ยังยึดถืออยู่ ทำไมไม่เห็นว่าเป็นเรา แล้วยังยึดถือได้ คล้ายๆ คนที่ยืมของคนอื่นเค้ามาใช้นะ สมมุติหลวงพ่อไปยืมรถยนต์ ของคุณอนุรุธมาใช้ซักคันนึง โอ้...รถคันนี้มันโก้จังนะ เรามีแต่รถกระบะ นี่รถเค้าสวย ยืมมาใช้นาน จนหลงไปว่าเป็นรถของเราเอง ยืมเค้ามานาน จนเราคิดว่าเป็นของเราเอง เหมือนกายนี้ใจนี้ เรายืมของโลกมาใช้ ยืมมานานจนสำคัญผิดว่าเป็นของเราเอง วันหนึ่งเป็นพระโสดาบัน รู้แล้วว่ากายนี้ใจนี้เป็นของโลกนะไม่ใช่ของเรา ไม่มีเราหรอก ก็จะคล้ายๆคนขี้งกอ่ะ รู้แล้วว่ารถคันนี้ไมใช่ของเรานะ แต่มันดีนะ เอาไว้ก่อน เพราะฉะนั้นพระโสดาบันยังมีอารมณ์ขี้งกอยู่ ยังไม่ปล่อยวางกายวางใจจริงนะ ต้องมาเรียนรู้กายรู้ใจให้หนักเข้าอีก ดูไปเรื่อย วันหนึ่งเกิดปัญญาขึ้นมา ก็เห็นมันเป็นแต่ทุกข์ล้วนๆเลย ไม่ใช่ของดีของวิเศษอีกต่อไป ก็ยอมคืนเจ้าของ คืนให้โลกไป นี่ ฮ นกฮูกนะ มีหลัง ฮ นกฮูกอีก after ฮ นกฮูก คือภาวะซึ่งมันสิ้นทุกข์ไปแล้วนะ จิตใจซึ่งมันสิ้นทุกข์ไปแล้วนะ มันจะบอกว่ามีความสุขมันก็ไม่เหมือนนะ มันไม่รู้จะเทียบกับอะไร มันสุขเพราะไม่มีอะไรเสียดแทง เป็นสุขเพราะเป็นอิสระ จิตใจปลอดโปร่งโล่งเบาอยู่ทั้งวันทั้งคืน ทั้งหลับทั้งตื่นนะ มันมีแต่ความสุขอย่างงั้น สุขเพราะพ้นความปรุงแต่ง สุขเพราะพ้นกิเลส สุขเพราะไม่มีภาระที่จะต้องไปยึดถืออะไร ใจมันโล่ง

ตามหลวงพ่อไปทางนิพพาน-พุทโธอัปมาโณ www.tangnipparn.com/ สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ หากข้าพระพุทธเจ้า ... วิดีโอ 7:59 ทางนิพพาน สมพงศ์ อินดัสเตรียล... YouTube - 3 พ.ค. 2559 1:51 ทางนิพพาน หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย YouTube - 12 มิ.ย. 2560 28:48 ทางนิพพาน Sompong Tungmepol YouTube - 13 ส.ค. 2561 57:31 ทางนิพพาน สมพงศ์ อินดัสเตรียล... YouTube - 6 ต.ค. 2559 9:58 ทางนิพพาน หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย YouTube - 11 ก.ค. 2561 24:17 ทางนิพพาน หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย YouTube - 2 พ.ค. 2559 1:00:53 ทางนิพพาน Sompong Tungmepol YouTube - 8 ส.ค. 2561 27:51 ทางนิพพาน สมพงศ์ อินดัสเตรียล... YouTube - 2 ก.ย. 2561 7:53 ทางนิพพาน หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย YouTube - 22 พ.ค. 2561 6:09 ทางนิพพาน สมพงศ์ อินดัสเตรียล... YouTube - 24 ก.ย. 2561 ผลการค้นเว็บ ทางนิพพาน www.silpathai.net/ทางนิพพาน/ 23 พ.ย. 2558 - เมื่อทราบทางมนุษย์ ทางสุคติ ทางทุคติ ทางสวรรค์ ทางนรกแล้ว ก็ควรทราบทางไปนิพพานต่อไป. ทางนิพพาน บางคนมีธุลีในนัยน์ตาน้อย คือมีกิเลสบาง ... ทางนิพพาน - หน้าหลัก | Facebook https://th-th.facebook.com › เพจ › อื่นๆ › ชุมชน ทางนิพพาน. ถูกใจ 1913 คน · 1 คนกำลังพูดถึงสิ่งนี้. .. มาเถิด มาช่วยกันแผ้วถางทางเดิน สู่พระนิพพาน อันเป็นที่สุดแห่งธรรม. ทางสู่นิพพานมีกี่สายคะ - Pantip https://pantip.com/topic/31350366 ไปงานวิทยาศาสตร์ทางจิตมา มีวิทยากรท่านหนึ่งบอก คนส่วนใหญ่เชื่อว่าทางสู่ินิพพานมีแต่การฝึกสติปัฎฐาน 4 เพียงอย่างเดียว แต่ความจริงแล้วไม่ใช่ (เ่ช่น กสิณก็ไปได้เหม. การปฏิบัติจิตใจตนให้เข้าสู่บันไดพระนิพพาน - Luangpochom::หลวงพ่อชม www.luangpochom.com/pochom75_2.htm ขั้นที่ ๕ คือให้ทำจิตให้ว่าง วางเฉยเสีย. ห้าขั้นนี้เป็นบันไดเข้าสู่พระนิพพาน ให้จิตใจเราผู้ปฏิบัติขึ้นตามสายทางบันไดดังที่กล่าวมานี้ ถึงจะเป็นบันไดทางพระนิพพานโดยถูกต้อง ... ทางนิพพาน - Самые популярные видео - Nam Video https://namvideo.com/watch/If0yVR_-Fs0 วิดีโอสำหรับ ทางนิพพาน▶ 31:42 2 วันที่ผ่านมา - อัปโหลดโดย Sompong Tungmepol ผู้ที่สำรวมมือสำรวมเท้าสำรวมวาจาสำรวมตน #ยินดีในอารมณ์ภายในมีจิตตั้งมั่นอยู่ผู้เดียว#สันโดษบัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่าเป็นภิกษุ คำว่าเอาจิตที่รู้อยู่นั้นคือว่ามันมีอยู่แล้ว ... สวนทางนิพพาน - ผลการค้นหาของ Google Books https://books.google.co.th/books?isbn=9740212301 เสฐียรพงษ์ วรรณปก - 2014 - ‎Juvenile Nonfiction ... สาระความรู้ที่ผู้เขียนนําเสนอในเล่มนี ล้วนตั้งอยู่บนเส้นทางที่ มุ่งตรงไปสู่พระนิพพาน อันเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของพุทธศาสนา ทว่า ความตั้งใจของผู้เขียนทีตังชื่อ “สวนทางนิพพาน” ... สวนทางนิพพาน - SE-ED.com https://www.se-ed.com/product/สวนทางนิพพาน.aspx?no=9789740212300 สวนทางนิพพาน ศึกษาพุทธประวัติ เรียนรู้วิถีปฏิบัติจากพระสงฆ์ มุ่งตรงสู่หลักธรรมคำสอน แต่งโดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก สำนักพิมพ์ มติชน สนพ.