หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ชี้ทางนิพพานในชาตินี้

//Auto Rerun 3 sinus motor controller Arduino mini 168 Arduino 328 P #define UN (400.0) //napiecie znamionowe silnika #define FN (50.0) //czestotliwosc znamionowa silnika #define P (UN/FN) //wsp. okreslajacy proporcje napiecia do czestotliwoci znamionowej #define T_PWM (0.000255) //okres sygnalu PWM - ustawiony przez preskaler w licznikach #define T_MAX (4.0) //okreslenie maksymalnego okresu napiecia wyjsciowego #define T_MIN (0.02) //minimalny okres napiecia wyjsciowego #define K_MAX floor(T_MAX/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MAX #define K_MIN ceil(T_MIN/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MIN volatile static unsigned int dlugosc_tab_sin; //zmienna zawierajaca liczbe wartosci w pelnym //okresie napiecia wyjsciowego static unsigned int i = 0; //zmienna pomocniacza volatile static unsigned int licznik_glowny = 0;//zmienna wystepujaca w przerwaniu czyklicznie //^ co okres T_PWM zwiekszajaca swoja wartosc o 1 static unsigned int next_value_sin = 0; //zmienna ktora wartosc sin nalezy obliczyc static double t_param=100; //parametr okreslajacy okres napiecia wyjsciowego static float t = T_PWM; //T_PWM static float omega_t; //pulsacja napiecia wyjsciowego pomnozona przez T_PWM static float t_out; //okres wyjsciowy napiecia static float U_o_param; //parametr okreslajacy wielkosc napiecie wyjsciowego //^ obliczony na podstawie t_out i U_in static unsigned int ocr0a, ocr0b, ocr1a;//zmienne pomocnicze do przechowywania obl. wypelnien static unsigned int ocr1b, ocr2a, ocr2b;//^ static double sin_in; //zmienna zawierajaca parametr funkcji sin static double blad = 1; //zmienna uzyta do zatrzymania generowania napiecia przy przeciazeniu static unsigned int analog=0; //zmienna zawierajaca zmierzona wartosc static double U_in = 0; //zmienna przechowujนca pomiar napiecia ukladu posredniczacego static double U_rms_max; //maksymalna aktualnie mozliwa do generacji wartosc skuteczna napiecia static bool a=0; //zmienna logiczna do realizacji dwoch naprzemiennych pomiarow int main() { io_init(); //inicjalizacja wejsc i wyjsc timers_init(); //inicjalizacja licznikow PWM adc_init(); //inicjalizacja przetwornika ADC while(1) //nieskonczona petla z programem glownym { if(i==185) //warunek okreslajacy wejscie do funkcji zmiany { //parametrow napiecia wysjciowego, wywolanie co okolo 100ms zmien_predkosc(); //funkcja zmiany parametrow napiecia wyjsciowego i=0; } next_value_sin = licznik_glowny%dlugosc_tab_sin; //kolejna wartoœๆ sinusa do obliczenia sin_in=omega_t*next_value_sin; /*obliczenie wartosci do rejestrow okreslajacych wypelnienie sygnalu wyjscioweg*/ ocr0a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in)+1)*254/2)+1);//pin 6 ocr0b = ocr0a - 1; ocr1a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in-2.09)+1)*254/2)+1);//pin 9 ocr1b = ocr1a - 1; ocr2a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in+2.09)+1)*254/2)+1);//pin 11 ocr2b = ocr2a - 1; /*uaktualnienie wartosci w rejestrach*/ cli(); //zabronienie na obsloge przerwan na wypadek gdyby //podczas uaktualniania wystapilo przerwanie OCR0A = ocr0a; //pin 6 OCR0B = ocr0b; //pin 5 OCR1AL = ocr1a; //pin 9 OCR1BL = ocr1b; //pin 10 OCR2A = ocr2a; //pin 11 OCR2B = ocr2b; //pin 3 sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan i++; } } void adc_init() { ADCSRA |= _BV(ADEN);//uruchomienie przetwornika ADCSRA |= _BV(ADPS2);//ustawienie preskalera ADCSRA |= _BV(ADPS1);//^ ADCSRA |= _BV(ADPS0);//^ ADMUX |= _BV(REFS0);// napiecie odniesienia ustawione jako napiecie zasilania ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru } void timers_init() { cli(); // obsloga przerwan zabroniona //timer0 init TCCR0A |= _BV(COM0A1) | _BV(COM0B0) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00); TCCR0B |= _BV(CS01); //preskaler 8 TIMSK0 |= _BV(TOIE0); //flaga od wartosci 0 wlaczona //timer1 init TCCR1A |= _BV(COM1A1) | _BV(COM1B0) | _BV(COM1B1) | _BV(WGM10); TCCR1B |= _BV(CS11); //preskaler 8 //timer2 init TCCR2A |= _BV(COM2A1) | _BV(COM2B0) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM20); TCCR2B |= _BV(CS21); //preskaler 8 //zerowanie wartosci licznik๓w TCNT0 = 0; TCNT1L = 0; TCNT2 = 0; /* licznik zlicza w g๓re do 255, nastepnie w d๓ณ: /\/\/\ przy wartosci 255 jest przerwanie przy ktorym dokonuje sie pomiarow napiec i pradow */ sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan } void io_init() { pinMode(6, OUTPUT); //OC0A pinMode(5, OUTPUT); //OC0B pinMode(9, OUTPUT); //OC1A pinMode(10, OUTPUT);//OC1B pinMode(11, OUTPUT);//OC2A pinMode(3, OUTPUT); //OC2B pinMode(2, INPUT); pinMode(4, INPUT); pinMode(12, OUTPUT); pinMode(13, OUTPUT); } ISR(TIMER0_OVF_vect) //przerwanie przy wartosci 0 licznika0 { analog = ADC; if(a) { U_in = 0.0709*analog; ADMUX |= _BV(MUX0); //wybranie wejscia ADC1 do pomiaru pradu } else { ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru napiecia if(analog>579) { blad = 0; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia digitalWrite(12, HIGH); //zapalenie diody } } ADCSRA |= _BV(ADSC);//start odczytywania pomiaru a=a^1; //bramka XOR neguje wartosc logiczna a licznik_glowny++; if(licznik_glowny>=dlugosc_tab_sin) licznik_glowny = 0; } void zmien_predkosc() { t_param = map(analogRead(3),0,1023,0,100); U_rms_max = U_in*0.62; //wartosc 0.62 wyzanczona eksperymentalnie bool up; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zwieksz czestotliwosc bool down; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zmiejsz czestotliwosc up = digitalRead(4); //odczyt: czy nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc down = digitalRead(2); //odczyt: czy nacisniety przycisk zmiejsz czestotliwosc if(up==1) t_param--; //jezeli nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc to zmiejsz okres if(down==1) t_param++; //jezeli nacisniety przycisk zmniejsz czestotliwosc to zwieksz okres if(t_param<0) t_param=0; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych if(t_param>100) t_param=100;//^ dlugosc_tab_sin = ceil((K_MAX-K_MIN)*t_param/500+K_MIN);//ilosc wartosci wypelnien w jednym okresie t_out = T_PWM*dlugosc_tab_sin; //obliczenie okresu napiecia wyjsciowego omega_t = t*2*PI/t_out; //obliczenie pulsacji napiecia wyjsciowego U_o_param = (P/t_out)/U_rms_max; //obliczenie parametru okreslajacego wielkosc napiecia wyjsciowego if(t_out>1) U_o_param = 0.5*(18.5/U_rms_max); //napi๊cie na wyjsciu przy niskiej czestotliwosci 10V if(U_o_param>1) U_o_param=1; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych blad = 1; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia //digitalWrite(13, HIGH); //zapalenie diody //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia digitalWrite(12, LOW); //zapalenie diody }

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ทางไปสู่พระนิพพาน 18 ธ ค 57 ค่ำ โดยหลวงพ่ออินทร์ถวาย ณ สวนแสงธรรม

สภาพของเรา#พระโสดาบันคือท่านผู้เห็นความจริงว่าตัวเราไม่มี #เรียกว่าละสกายทิฐิได้ท่านเห็นว่าตัวเราไม่มีนะกายนี้ไม่ใช่เราใจนี้ไม่ใช่เรา ในกายนี้ ในใจนี้ ไม่มีตัวเรา กายนี้ใจนี้ก็ไม่ใช่ตัวเรา ไม่มีตัวเรานอกเหนือจากกายจากใจนี้อีก #สิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นตัวเราอยู่ตลอดเวลาก็คือกายนี้ใจนี้เท่านั้นแหละ รูปนาม ขันธ์๕ อายตนะ๖ ธาตุ๑๘ แล้วแต่จะเรียกนะ รวมความง่ายๆ ก็คือ รูปกับนาม คือกายกับใจนี่เอง เราเห็นว่ามันเป็นตัวเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถพัฒนาจิตใจ จนเราเห็นความจริงนะว่าตัวเราไม่มีหรอก กายนี้ไม่ใช่เราใจนี้ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกายในใจนี้ ไม่มีเรานอกเหนือกายนอกเหนือใจนี้ เราก็จะได้เป็นพระโสดาบัน เป็นผู้เที่ยงต่อการตรัสรู้ในวันข้างหน้า วันหนึ่งก็เป็นพระอรหันต์ เหมือนคนตกลงในกระแสน้ำนะ น้ำพัดพาไปนะ วันหนึ่งไปถึงทะเล ทำยังไงเราถึงจะสามารถเห็นได้ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรานะ พระพุทธเจ้าท่านเคยสอนบอกว่า คนในศาสนาอื่นเค้าสามารถเห็นได้ว่า กายไม่ใช่เรา มีแต่คำสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้นนะ ถึงจะพัฒนาจิตใจเรา จนเราเห็นความจริงว่า จิตก็ไม่ใช่เรา ไม่มีเรา อย่างคนที่เรียนกับหลวงพ่อนะ ซักเดือนสองเดือนเนี่ย สามารถเห็นได้แล้วว่ากายไม่ใช่เรา แต่ส่วนมากก็ยังเห็นว่าจิตเป็นเราอยู่ ถ้าวันใดเห็นว่าจิตก็ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกาย ไม่มีเราในจิต ก็ได้ธรรมะ เป็นปลอดภัย ไม่ไปอบายละ ชีวิตมีความสุข มีความสงบ มีความมั่นคง กิเลสหายไปหลายสิบเปอร์เซ็นต์ ทีนี้ทำยังไง เราจะสามารถเห็นว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่เรานะ เรามาดูของจริง การดูของจริงของกายของใจเรียกว่า “การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน” การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน ต้องเห็นความจริงของกายของใจ ไม่ใช่เห็นกายเห็นใจนะ พวกเราอย่าตื้น บางคนตื้นเกินไป คิดว่าแค่รู้กาย แค่รู้ใจก็คือการทำวิปัสสนากรรมฐาน....ไม่ใช่ วิปัสสนากรรมฐานต้องเห็นความจริงของกายของใจ ความจริงของกายของใจคือไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อนิจจังก็คือสิ่งซึ่งมันเคยมีแล้วมันไม่มี สิ่งซึ่งเคยไม่มีมันกลับมีขึ้นมานี่เรียกว่า อนิจจัง ทุกขัง คือ มันทนอยู่ไม่ได้นะ มันถูกสภาวะที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยของมันเนี่ยเคลื่อนไหวเปลี่ยนไป พอเหตุของมันเปลี่ยนนะ ตัวมันทนอยู่ไม่ได้นะ ถูกบีบคั้น ทนอยู่ไม่ได้ในภาวะอันใดอันหนึ่ง เรียกว่า ทุกขัง อนัตตา ก็คือ มันจะเกิดขึ้น มันจะตั้งอยู่ หรือมันจะดับไป เป็นไปเพราะเหตุ ไม่ใช่เพราะเราสั่ง เราบังคับไม่ได้ อยู่นอกเหนือการบังคับ นี่เรียกได้ว่าอนัตตา ถ้าสามารถเห็นได้ว่า กายนี้ใจนี้เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่ง ไม่ต้องเห็นทั้งสามอย่าง เห็นเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง จิตก็สามารถปล่อยวาง ความยึดถือกายยึดถือใจได้ในที่สุด แต่ในเบื้องต้นก็จะเห็นก่อนว่า กายนี้ใจนี้ไม่ใช่เรา ถึงจะเห็นว่าไม่ใช่เราแต่ก็ยังไม่ปล่อยวาง พระโสดาบันเนี่ย ท่านเห็นความจริงแล้วว่าตัวเราไม่มี กายนี้ไม่ใช่เรา ใจนี้ไม่ใช่เรา กายนี้เป็นวัตถุธาตุที่ยืมโลกมาใช้ จิตใจก็เป็นธาตุเรียกว่าธาตุรู้ ธาตุรู้เนี่ยเกิดดับๆ สืบเนื่องกันไปเรื่อยๆ ก็ไม่ใช่ตัวเรา แต่ท่านยังยึดถืออยู่นะ ยังเห็นว่า กายนี้ใจนี้ยังนำความดีงามมาให้ได้ ยังรักมันอยู่ ยังนำความสุขมาให้ได้ ต้องเจริญสติต่อไปอีกนะ รู้กายรู้ใจๆ เรื่อยไป ถึงวันหนึ่ง ถึงจะเห็นความจริงว่า กายนี้ใจนี้มีแต่ทุกข์ล้วนๆ ทุกข์เพราะไม่เที่ยง ทุกข์เพราะทนอยู่ไม่ได้ ถูกบีบคั้น ทุกข์เพราะว่าไม่ใช่ตัวเรา บังคับมันไม่ได้ อยู่นอกเหนืออำนาจบังคับ ถ้าเห็นอย่างนี้นะก็จะปล่อยวาง ปล่อยวางเป็นพระอรหันต์ พระโสดาบันเนี่ยไม่ได้ยากเท่าไหร่ แค่รู้ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกายในใจ แต่ยังยึดถืออยู่ ทำไมไม่เห็นว่าเป็นเรา แล้วยังยึดถือได้ คล้ายๆ คนที่ยืมของคนอื่นเค้ามาใช้นะ สมมุติหลวงพ่อไปยืมรถยนต์ ของคุณอนุรุธมาใช้ซักคันนึง โอ้...รถคันนี้มันโก้จังนะ เรามีแต่รถกระบะ นี่รถเค้าสวย ยืมมาใช้นาน จนหลงไปว่าเป็นรถของเราเอง ยืมเค้ามานาน จนเราคิดว่าเป็นของเราเอง เหมือนกายนี้ใจนี้ เรายืมของโลกมาใช้ ยืมมานานจนสำคัญผิดว่าเป็นของเราเอง วันหนึ่งเป็นพระโสดาบัน รู้แล้วว่ากายนี้ใจนี้เป็นของโลกนะไม่ใช่ของเรา ไม่มีเราหรอก ก็จะคล้ายๆคนขี้งกอ่ะ รู้แล้วว่ารถคันนี้ไมใช่ของเรานะ แต่มันดีนะ เอาไว้ก่อน เพราะฉะนั้นพระโสดาบันยังมีอารมณ์ขี้งกอยู่ ยังไม่ปล่อยวางกายวางใจจริงนะ ต้องมาเรียนรู้กายรู้ใจให้หนักเข้าอีก ดูไปเรื่อย วันหนึ่งเกิดปัญญาขึ้นมา ก็เห็นมันเป็นแต่ทุกข์ล้วนๆเลย ไม่ใช่ของดีของวิเศษอีกต่อไป ก็ยอมคืนเจ้าของ คืนให้โลกไป นี่ ฮ นกฮูกนะ มีหลัง ฮ นกฮูกอีก after ฮ นกฮูก คือภาวะซึ่งมันสิ้นทุกข์ไปแล้วนะ จิตใจซึ่งมันสิ้นทุกข์ไปแล้วนะ มันจะบอกว่ามีความสุขมันก็ไม่เหมือนนะ มันไม่รู้จะเทียบกับอะไร มันสุขเพราะไม่มีอะไรเสียดแทง เป็นสุขเพราะเป็นอิสระ จิตใจปลอดโปร่งโล่งเบาอยู่ทั้งวันทั้งคืน ทั้งหลับทั้งตื่นนะ มันมีแต่ความสุขอย่างงั้น สุขเพราะพ้นความปรุงแต่ง สุขเพราะพ้นกิเลส สุขเพราะไม่มีภาระที่จะต้องไปยึดถืออะไร ใจมันโล่ง

ตามหลวงพ่อไปทางนิพพาน-พุทโธอัปมาโณ www.tangnipparn.com/ สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ หากข้าพระพุทธเจ้า ... วิดีโอ 7:59 ทางนิพพาน สมพงศ์ อินดัสเตรียล... YouTube - 3 พ.ค. 2559 1:51 ทางนิพพาน หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย YouTube - 12 มิ.ย. 2560 28:48 ทางนิพพาน Sompong Tungmepol YouTube - 13 ส.ค. 2561 57:31 ทางนิพพาน สมพงศ์ อินดัสเตรียล... YouTube - 6 ต.ค. 2559 9:58 ทางนิพพาน หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย YouTube - 11 ก.ค. 2561 24:17 ทางนิพพาน หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย YouTube - 2 พ.ค. 2559 1:00:53 ทางนิพพาน Sompong Tungmepol YouTube - 8 ส.ค. 2561 27:51 ทางนิพพาน สมพงศ์ อินดัสเตรียล... YouTube - 2 ก.ย. 2561 7:53 ทางนิพพาน หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย YouTube - 22 พ.ค. 2561 6:09 ทางนิพพาน สมพงศ์ อินดัสเตรียล... YouTube - 24 ก.ย. 2561 ผลการค้นเว็บ ทางนิพพาน www.silpathai.net/ทางนิพพาน/ 23 พ.ย. 2558 - เมื่อทราบทางมนุษย์ ทางสุคติ ทางทุคติ ทางสวรรค์ ทางนรกแล้ว ก็ควรทราบทางไปนิพพานต่อไป. ทางนิพพาน บางคนมีธุลีในนัยน์ตาน้อย คือมีกิเลสบาง ... ทางนิพพาน - หน้าหลัก | Facebook https://th-th.facebook.com › เพจ › อื่นๆ › ชุมชน ทางนิพพาน. ถูกใจ 1913 คน · 1 คนกำลังพูดถึงสิ่งนี้. .. มาเถิด มาช่วยกันแผ้วถางทางเดิน สู่พระนิพพาน อันเป็นที่สุดแห่งธรรม. ทางสู่นิพพานมีกี่สายคะ - Pantip https://pantip.com/topic/31350366 ไปงานวิทยาศาสตร์ทางจิตมา มีวิทยากรท่านหนึ่งบอก คนส่วนใหญ่เชื่อว่าทางสู่ินิพพานมีแต่การฝึกสติปัฎฐาน 4 เพียงอย่างเดียว แต่ความจริงแล้วไม่ใช่ (เ่ช่น กสิณก็ไปได้เหม. การปฏิบัติจิตใจตนให้เข้าสู่บันไดพระนิพพาน - Luangpochom::หลวงพ่อชม www.luangpochom.com/pochom75_2.htm ขั้นที่ ๕ คือให้ทำจิตให้ว่าง วางเฉยเสีย. ห้าขั้นนี้เป็นบันไดเข้าสู่พระนิพพาน ให้จิตใจเราผู้ปฏิบัติขึ้นตามสายทางบันไดดังที่กล่าวมานี้ ถึงจะเป็นบันไดทางพระนิพพานโดยถูกต้อง ... ทางนิพพาน - Самые популярные видео - Nam Video https://namvideo.com/watch/If0yVR_-Fs0 วิดีโอสำหรับ ทางนิพพาน▶ 31:42 2 วันที่ผ่านมา - อัปโหลดโดย Sompong Tungmepol ผู้ที่สำรวมมือสำรวมเท้าสำรวมวาจาสำรวมตน #ยินดีในอารมณ์ภายในมีจิตตั้งมั่นอยู่ผู้เดียว#สันโดษบัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่าเป็นภิกษุ คำว่าเอาจิตที่รู้อยู่นั้นคือว่ามันมีอยู่แล้ว ... สวนทางนิพพาน - ผลการค้นหาของ Google Books https://books.google.co.th/books?isbn=9740212301 เสฐียรพงษ์ วรรณปก - 2014 - ‎Juvenile Nonfiction ... สาระความรู้ที่ผู้เขียนนําเสนอในเล่มนี ล้วนตั้งอยู่บนเส้นทางที่ มุ่งตรงไปสู่พระนิพพาน อันเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของพุทธศาสนา ทว่า ความตั้งใจของผู้เขียนทีตังชื่อ “สวนทางนิพพาน” ... สวนทางนิพพาน - SE-ED.com https://www.se-ed.com/product/สวนทางนิพพาน.aspx?no=9789740212300 สวนทางนิพพาน ศึกษาพุทธประวัติ เรียนรู้วิถีปฏิบัติจากพระสงฆ์ มุ่งตรงสู่หลักธรรมคำสอน แต่งโดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก สำนักพิมพ์ มติชน สนพ.