บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2019

จำไว้ในใจ

รูปภาพ

videoplayback

รูปภาพ

videoplayback

รูปภาพ

videoplayback

รูปภาพ

videoplayback

รูปภาพ

videoplayback 1

รูปภาพ

การหลุดพ้นของจิต

รูปภาพ

การทำจิตให้หลุดพ้น

รูปภาพ

วันหนึ่งเรานิพพาน

รูปภาพ

ปัญหาชีวิต :: หลวงพ่อปราโมทย์ ๒๔ พ.ย. ๒๕๖๑ (ไฟล์ 611124B ซีดี ๗๙)กาย ใจกระทบอารมณ์ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มันแต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะมีเงื่อนไขสำคัญมากรู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมารู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยา

รูปภาพ

ทางพ้นทุกข์

รูปภาพ

ประทับไว้ในดวงจิต

รูปภาพ

videoplayback

รูปภาพ

สังเวชนียสถาน ๔ ตำบล

รูปภาพ

ทางบรรลุโสดาบัน

รูปภาพ

Desktop1

รูปภาพ

ตายคราวนี้ขอไปพระนิพพานอย่างเดียวไม่ไปไหน#พระโสดาบันกับพระสกิทาคามีเนี่ยท่านบอกว่ามีสมาธิเล็กน้อยมีปัญญาเล็กน้อย แต่ว่ามีศีลบริสุทธิ์ นี่#ถ้าหากว่าเราไม่ประมาทในความตาย คนที่ไม่ประมาทในความตายไม่มีอะไรดูง่าย ๆ ก็คือรักษาศีลบริสุทธิ์ หมั่นให้ทานไว้ หมั่นรักษาศีลไว้ หมั่นคำนึงนึกถึงว่า เกิดเป็นทุกข์ แก่เป็นทุกข์ ตายเป็นทุกข์ การพลัดพรากจากของรักของชอบใจเป็นทุกข์ มีกรรมเป็นของตัว ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว อันนี้ดีตัวนี้ก็คือ “ดีไม่ต้องการเกิด” ถ้าเราไม่เกิด แก่ไม่มี เจ็บไม่มี ป่วยไม่มี ตายไม่มี พลัดพรากจากของรักของชอบใจไม่มี ใช่ไหม ? ไอ้ตัวที่จะไม่เกิดก็คือ #อารมณ์นึกถึงพระนิพพานเป็นอารมณ์ว่าตายคราวนี้ขอไปพระนิพพานอย่างเดียวไม่ไปไหน ไม่ว่าเขาจะถามว่า แกจะไปได้ไม่ได้ ก็บอกว่าได้ไม่ได้ไม่รู้ก็ข้าจะไป ใช่ไหม ? มึงจะไปหรือไม่ไปก็ช่างมึง แต่กูจะไป ก็หมดเรื่อง มันเรื่องของกูไม่ใช่เรื่องของมึงใช่ไหม ? คราวนี้จะไปได้ไหมล่ะ ? ถ้าจิตเราทรงความเป็นพระโสดาบันได้ ถ้าอารมณ์เรารักพระนิพพานเป็นอารมณ์ #คิดว่าตั้งแต่นี้เป็นต้นไปขึ้นชื่อว่าความเป็นมนุษย์อย่างนี้ไม่มีสำหรับเราอีก การเป็นเทวดาหรือพรหมก็ไม่มีสำหรับเรา เมื่อละจากอัตภาพนี้แล้วเราต้องการจุดเดียวคือ พระนิพพาน แล้วเราก็มานั่งนึกหาความจริงว่าไอ้คนที่เค้าจะตายนี่ เค้าไปนรก ไปสวรรค์ ไปพรหมโลก ไปนิพพานเค้าเอาอะไรไปหึลูก ? เอาตัวไปหรือเปล่า ? ไอ้ที่ไปเนี่ยคือ “ใจ” ใช่ไหม ? ใช่ ตอนนี้ถ้าใจของเราเวลานี้น่ะ เรายึดหัวหาด คืออารมณ์ของพระโสดาบันไว้ได้ ตัดอบายภูมิหมด แล้วอารมณ์อีกจุดหนึ่ง มันตั้งตรงพระนิพพานไง จิตมันตั้งไว้แล้วว่าจะไปนิพพาน นี้ก็รู้แล้วว่าเวลาไปจริง ๆ นั้นจิตมันไป นี้เวลาตายจริง ๆ มันก็ไปนิพพานเลย ไม่ยาก ตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า “มโนปุพพัง คมา ธัมมา มโนเสฏฐา มโนมยา ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นใหญ่ มีใจเป็นหัวหน้า สำเร็จได้ด้วยใจ” ใช่ไหม ? ในเมื่อใจมันตั้งไว้เพื่อพระนิพพาน ตายแล้วมันจะไปไหน ? ก็ไปพระนิพพาน มีเยอะแยะไปที่เค้าทำกันอย่างนี้นะ ไม่ใช่ว่าการปฏิบัติตัวมันจะต้องเป็นพระอรหันต์วันนี้ จงอย่าลืมว่าอารมณ์ที่ตั้งไว้เพื่อพระนิพพานนี่แหล่ะมันเป็น “อารมณ์พระอรหันต์” นี้อารมณ์ของพระโสดาบันเนี่ยเราก็ “ยันนรก” ไว้ต่างหาก แต่ว่ายามปกติเนี่ยเราคิดไว้เสมอว่า ร่างกายนี้นะมันเป็นทุกข์อย่างนี้เราไม่ต้องการ เมื่อเราไม่ต้องการร่างกายของเรา แล้วร่างกายเราก็ไม่มี ในเมื่อร่างกายเราไม่มีมันมีผัวมีเมียได้ไหม? นี่ตัวตัดจริง ๆ มันอยู่ตรงนี้นะเบา ๆ ไม่ยาก ใช่ไหม ? .. (หลวงพ่อพระราชพรหมยาน)

รูปภาพ

พระพุทธเจ้าสอน ให้เรา เรียนจนรู้ความจริงว่าความทุกข์มันเกิดได้อย่างไร ทำ...

รูปภาพ

พวกเรามีบุญแล้วนะ ได้ฟังธรรมพระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช : การที่เราได้ยินธรรมะเกี่ยวกับการรู้สึกตัว ได้ยินธรรมะเกี่ยวกับการแยกธาตุแยกขันธ์นะ ไม่ใช่คนทั่วๆไปจะได้ยินได้หรอก มันเป็นธรรมะในขั้นการปฏิบัติ แล้วก็ไม่ใช่ปฏิบัติเหยาะๆแหยะๆ เป็นธรรมะที่หวังมรรคผลนิพพานกันจริงๆ ถ้าเราไม่ได้หวังถึงมรรคผลนิพพานไม่ต้องรู้สึกตัวก็ได้ ทำบุญให้ทานอะไรอย่างนั้นไป ทำบุญทำทานไป ถึงเวลาไปนั่งสมาธิเคลิ้มไปเคลิ้มมาแค่นั้นก็มีความสุขแล้ว แต่พวกเราไม่ได้ต้องการแค่นั้น บารมีพวกเรามี ถึงวันนี้มันก็คงแก่กล้าขึ้นบ้างแล้วล่ะ ถึงไม่ทันสมัยพุทธกาลนะ แต่ว่ายังไม่สิ้นศาสนาพุทธไปก็ยังทันตรงกลางพุทธกาลนี้แหละ ต้นพุทธกาลไม่ทัน มาทันกึ่งพุทธกาล ถึงจะน้อยก็ไม่เป็นไร คนหนึ่งก็ดีกว่าไม่มีสักคน ตราบใดยังมีคนศึกษาปฏิบัติอยู่สักคนหนึ่งนะ เรียกว่าศาสนายังไม่สูญนะ ในคัมภีร์พูดถึงวันที่ศาสนาสูญไป บอกว่าพระเจ้าแผ่นดินให้ไปประกาศ ว่าถ้าใครทรงจำพระธรรมะวินัยได้สักประโยคหนี่งนะ จะให้รางวัลมากมาย ประกาศอยู่นาน ไม่มีเลย ไม่มีใครเคยได้ยินเรื่องพระธรรมวินัยเลย อันนั้นถือว่าสูญไปแล้ว หมดศาสนาแล้ว แต่พวกเรายังไม่หมด ธรรมะชั้นสูงในการปฏิบัติยังเหลืออยู่ อยู่ที่พวกเราปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรมหรือเปล่าเท่านั้นเอง ธรรมะในขั้นทาน ทำทานรักษาศีลอะไรอย่างนี้เป็นสาธารณะ ยุคไหนสมัยไหนก็มี ในยุคที่ไม่มีพระพุทธศาสนา การทำทานรักษาศีลก็มี การนั่งสมาธิก็มี แต่ไม่มีการเจริญปัญญาในขั้นวิปัสสนากรรมฐานที่จะข้ามภพข้ามชาติข้ามโลกไป ก่อนที่เราจะมาเจริญปัญญา ทำวิปัสสนากรรมฐานได้เนี่ย ต้องรู้ก่อน วิปัสสนากรรมฐานนั้นต้องมีสติ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงจะเห็นไตรลักษณ์ของมัน พวกเราอย่าไปปล่อยตัวปล่อยใจตามกิเลส ส่วนพวกที่มีความเพียรแล้วลอยขึ้น ฟูขึ้น ก็คือพวกที่อยากดี พยายามควบคุมตัวเอง ควบคุมกายควบคุมใจให้มันดี มุ่งให้มันดีให้มันสุขให้มันสงบ ตั้งเป้าไปที่ดีที่สุขที่สงบ อย่างนั่งสมาธิก็นั่งเอาดี นั่งเอาสุข นั่งเอาสงบ จะทำบุญทำทานก็ยังตั้งเป้าหมาย อยากโน้นอยากนี้อยู่ ควบคุมตัวเองอยู่ พยายามบังคับตัวเอง อยากกินไม่กิน อยากนอนไม่นอน อะไรอย่างนี้ พากเพียร แต่ทำไปโดยมุ่งเอาดี เอาสุข เอาสงบ ตั้งเป้าไว้ตรงนี้แล้วพากเพียร ทำไปแล้วได้อะไร อย่างมาก็ได้ดี ได้สุข ได้สงบน่ะสิ แต่ดีไม่เที่ยง สุขไม่เที่ยง สงบไม่เที่ยง เอาของไม่เที่ยงเป็นสาระแก่นสาร เอาของที่ยังไม่ใช่สาระที่แท้จริงมาเป็นสาระที่แท้จริง มันก็ดีอยู่ชั่วคราวแล้วมันก็เสื่อม สุขอยู่ชั่วคราวแล้วก็เสื่อม สงบอยู่ชั่วคราวแล้วก็เสื่อมนะ ลอยขึ้นไป ทำความดีแล้วก็ลอยขึ้นไปนะ ขึ้นไปสู่สุคติทั้งหลาย ตั้งแต่มนุษย์ เป็นเทวดา เป็นพรหมขึ้นไป ไปเสวยความดี ความสุข ความสงบ ผลของความดี ความสุข ความสงบ แล้วก็หล่นลงมา ข้ามโอฆะไม่ได้ ยังเวียนว่ายตายเกิดอยู่ ทางสองทางนี้แหละ คือความสุดโต่งสองด้านนี้แหละ พระพุทธเจ้าบอกไม่เอา ทางสายกลางมีอยู่ ถ้าเราอยากพ้นทุกข์จริงๆ เบื้องต้นหัดรู้สึกตัวไว้ก่อน การที่เราคอยรู้เนื้อรู้ตัวนี่เราจะไม่หลงตามกิเลสไป แต่ให้รู้ ไม่ใช่ให้เพ่ง ไม่ใช่ให้บังคับ ไม่ใช่ให้ดัดแปลง ถ้าเพ่ง ถ้าบังคับ ถ้าดัดแปลง อันนี้คือการบังคับตัวเอง มีผลให้เราได้เป็นมนุษย์ที่ดี เป็นเทวดา เป็นพรหม ถึงวันหนึ่งก็เสื่อมอีก ยังไม่พ้นการเวียนว่ายตายเกิด …พยายามรู้สึกตัวขึ้นมานะ แล้วมาเรียนรู้ความจริงของรูปของนาม ถ้าจิตใจยังติดใจในรูปในนามอยู่ ก็ยังเวียนว่ายตายเกิดอยู่ ยังก่อภพก่อชาติไปไม่สิ้นสุด แสวงหารูปนามใหม่ๆ ขันธ์ ๕ ใหม่ๆไปเรื่อยๆ เพราะใจยังติดอยู่ แต่ถ้าจิตมีสติปัญญาแก่รอบขึ้นมา เห็นขันธ์ ๕ ไม่ใช่สาระแก่นสาร พอจิตเห็นขันธ์ ๕ ไม่ใช่สาระแก่นสาร ความหวังที่จะให้ขันธ์ ๕ มันดี ขันธ์ ๕ มันสุข ขันธ์ ๕ มันสงบ ไม่มี มันดีไปไม่ได้หรอก มันเป็นตัวทุกข์ มันสุขไปไม่ได้หรอก มันทุกข์ มันสงบ มันก็สงบอยู่ไม่ได้จริงหรอก มันยังถูกความทุกข์บีบคั้นอยู่ตลอด ถ้าเมื่อไหร่เราเห็นขันธ์ ๕ ตกอยู่ใต้ความจริง เห็นความจริงของรูปนาม จิตจะคลายความยึดถือ ความยินดีในขันธ์ ๕ เมื่อจิตหมดความยึดถือ หมดความยินดีในขันธ์ ๕ เชื้อเกิดจะถูกทำลายไป จิตที่ยังเวียนว่ายตายเกิด เป็นจิตที่ยังมีเชื้อเกิดอยู่ เชื้อเกิดนี้มันก็เป็นเชื้อที่ยินดีในขันธ์ ๕ นั่นเอง มันโง่ มันมีอวิชชาซ่อนอยู่ในจิตดวงนี้ มันไม่รู้ความจริงของทุกข์ ไม่รู้ความจริงของสมุทัย ไม่รู้ความจริงของนิโรธ ไม่รู้ความจริงของมรรค ไม่รู้ความจริงของทุกข์ก็คือ ไม่รู้ว่าขันธ์ ๕ นี้เป็นตัวทุกข์ ยังคิดว่าจะหาทางหาขันธ์ ๕ ที่มีความสุขได้ พอไม่รู้ว่าขันธ์ ๕ เป็นตัวทุกข์ ความอยากจะให้ขันธ์ ๕ เป็นสุขก็เกิดขึ้น ความอยากจะให้ขันธ์ ๕ พ้นทุกข์ก็เกิดขึ้น สมุทัยก็มีขึ้นมา พอมีสมุทัยมีความอยากขึ้นมานี่ จิตก็มีความดิ้นรน จิตที่มีความดิ้นรนอยู่ ไม่มีความสงบสันติคือไม่มีนิพพาน ไม่เห็นนิพพาน งั้นเราต้องมาล้างเชื้อเกิดในใจของเรา ล้างความหลงผิดในใจของเรานั่นเอง ล้างอวิชชานั่นเอง อยากล้างอวิชชาได้ มีสตินี่แหละ รู้ขันธ์ ๕ ตามความเป็นจริง รู้กายรู้ใจนั่นแหละตามความเป็นจริง ดูลงไปเรื่อยเลย กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ไม่ต้องคิดหรอก มันไม่ใช่ของดีของวิเศษมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว เราเพียงหลงผิดว่ามันดีมันวิเศษ เราเลยติดอกติดใจเพลิดเพลินอยู่ ถ้าเราดูซ้ำดูซากนะ ดูแล้วดูอีก อยู่ในกายในใจนี้ เราจะเห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ ใจนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ พวกเรายังไม่เห็น พวกเราเห็นว่าร่างกายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จิตใจนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง เพราะเราเห็นอย่างนี้นะ อวิชชาเรามีอยู่ เมื่อมันยังเห็นว่าร่างกายจิตใจเป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้างได้ มันยังมีทางเลือก มีทางดิ้นต่อ มันก็จะดิ้นหนีความทุกข์ ดิ้นไปแสวงหาความสุข จิตที่ดิ้นรนนั่นแหละ ห่างไกลพระนิพพานไปเรื่อยๆ แต่ถ้าเรารู้ความจริงแจ่มแจ้ง ว่าขันธ์ ๕ หรือรูปนาม หรือกายใจนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มาก กับทุกข์น้อย ไม่ใช่มีทุกข์กับสุข ถ้าเห็นแจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งอย่างนี้ จิตมันจะสลัดคืนหมดความยึดถือขันธ์ ๕ จะรู้สึกเลย ร่างกายนี้เหมือนยืมแผ่นดินมาใช้นะ ยืมธาตุมาใช้ จิตใจก็เหมือนยึมเค้ามาใช้ ไม่ใช่ของเราสักอันเดียว มันสลัดคืนรูปคืนนาม คืนกายคืนใจให้โลกไป ไม่ยึดถือในรูปนามในกายใจนั้นเอง เมื่อเราไม่ยึดถือนะ ความหนักก็ไม่เกิดขึ้นในใจ ใจที่มีความหนัก ใครรู้จักหนักใจบ้าง หนัก หนักทุกวันเลย หนักเพราะเรายึดถือ ถ้าเราไม่ได้ยึดถือรูปนามอยู่ ความหนักใจจะไม่มี ปัญหามีนะ แต่ความหนักใจไม่มี งั้นเรามาเรียนรู้ความจริงของรูปของนามนี้แหละ เรียกว่าการเจริญปัญญา รู้ลงไปที่กายบ่อยๆ รู้ลงไปที่ใจบ่อยๆ จะรู้กายรู้ใจได้ จิตต้องรู้สึกตัวเป็นก่อน อย่าหลง ขั้นต้นเลย ต้องรู้สึกตัวให้เป็น ถ้ารู้สึกตัวไม่ได้ ใจหลงไปอยู่ในโลกของความคิด ลืมกายลืมใจ มีกายก็ลืมกาย มีใจก็ลืมใจนะ ใช้ไม่ได้ เราต้องคอยรู้สึกตัวบ่อยๆ หัดรู้สึกตัวนะ เบื้องต้นจะพุทโธ จะหายใจ หรือทำกรรมฐานอะไรสักอย่างหนึ่งก็ได้ แล้วแต่ถนัด ทำกรรมฐานขึ้นอย่างหนึ่ง แล้วคอยรู้ทันจิตตนเอง จิตไหลไปคิดรู้ทัน จิตไหลไปคิดรู้ทัน จิตก็จะหลุดออกจากโลกของความคิด มาอยู่ในโลกของความรู้สึกตัว จิตที่ไม่รู้สึกตัวนี้ไปหลงอยู่ในโลกของความคิด คนทั้งโลกหลงอยู่ในโลกของความคิดนะ มีเป็นส่วนน้อย ผู้ที่ได้ฟังธรรมแล้ว ผู้ที่มีบุญบารมีแล้วอย่างพวกเรานี้ มันรู้ทันจิตที่ไหลไปคิด แล้วก็ตื่น เกิดภาวะแห่งความรู้สึกตัวขึ้นมา พอเรารู้สึกตัวได้ ก็คือมีกายเราก็รู้ว่ามีอยู่ มีใจเราก็รู้ว่ามีอยู่ เราก็จะเรียนรู้ความจริงของกายของใจได้ ถ้าเราใจลอย เราลืมกายลืมใจ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้ความจริงของกายของใจได้ เพราะงั้นความรู้สึกตัวนี้แหละ เป็นจุดตั้งต้นที่จะเริ่มเดินปัญญานะ ทีนี้พอรู้สึกตัวเป็นแล้ว อย่ารู้สึกอยู่เฉยๆ รู้สึกแล้วมาเรียนรู้ความจริงของกายของใจ ค่อยๆแยก กายก็อยู่ส่วนกาย ใจก็อยู่ส่วนใจนะ แยกกัน กายส่วนกาย ใจส่วนใจ เวทนาคือความรู้สึกสุขทุกข์ก็อยู่ส่วนเวทนา ไม่ใช่กายไม่ใช่ใจ สังขาร ความปรุงดีความปรุงชั่ว เช่นโลภ โกรธ หลงทั้งหลาย ก็อยู่ส่วนโลภ โกรธ หลงทั้งหลาย ไม่ใช่ร่างกาย ไม่ใช่ความสุข ไม่ใช่ความทุกข์ ไม่ใช่จิตใจ นี่หัดแยกธาตุแยกขันธ์ ต้องรู้สึกตัวเป็นก่อน ถึงจะแยกธาตุแยกขันธ์ได้ แต่บางคนรู้สึกตัวแล้วอยู่เฉยๆ ไม่ยอมแยกธาตุแยกขันธ์ อันนั้นต้องช่วยมันคิดพิจารณาแยกธาตุแยกขันธ์ไป เช่นนั่งอยู่ ก็คอยคิดเอา เออร่างกายที่นั่งอยู่นี่เป็นของถูกรู้นะ อะไรอย่างนี้ ค่อยๆคิดไป ดู ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก ผม เป็นของถูกรู้ ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เป็นของถูกรู้ ค่อยๆหัดดูไปอย่างนี้ ต่อไปมันแยกได้เอง ความสุขความทุกข์เกิดขึ้น ก็เป็นของถูกรู้ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เกิดขึ้นเป็นของถูกรู้ จิตเป็นคนไปรู้มันเข้า เบื้องต้นอาจจะต้องช่วยมันคิดพิจารณาอย่างนี้ แต่ต่อไปมันแยกได้เอง พอแยกได้เอง เราจะเดินปัญญาอัตโนมัติ มันจะเห็นเลย ร่างกายเคลื่อนไหว แค่รู้สึกนะ แล้วจะรู้เลยร่างกายไม่คงที่ เวทนาเกิดขึ้นในกาย เวทนาเกิดขึ้นในใจ ความสุขความทุกข์นั้นแหละเกิดขึ้นในกายในใจ ก็เห็นเลยมันแค่ผ่านมาแล้วก็ผ่านไป ใจอยู่ต่างๆหาก เวทนานี้ไม่ใช่ตัวเราหรอก เป็นสิ่งที่แปลกปลอมเข้ามาชั่วคราวแล้วก็หายไป กุศลอกุศล ก็เป็นสิ่งที่แปลกปลอมเข้ามาชั่วคราวแล้วก็หายไป จิตเองก็เกิดแล้วก็ดับ เดี๋ยวก็เป็นจิตผู้รู้ เดี๋ยวก็เป็นจิตผู้คิด เดี๋ยวเป็นจิตผู้เพ่ง หมุนเวียนเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การที่เราเห็นขันธ์ ทั้งรูปธรรมนามธรรมทั้งหลายที่ประกอบกันเป็นตัวเรานี้ มีแต่ความหมุนเวียนเปลี่ยนแปลง ทั้งวันทั้งคืน ทั้งหลับทั้งตื่น เป็นอย่างนี้ตลอด มันจะรู้เลย ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ความสุขเกิดขึ้นก็แค่ของชั่วคราว เอาเป็นที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ เดี๋ยวก็ดับ กุศลเกิดขึ้นก็เป็นแค่ของชั่วคราว เอาเป็นที่พึ่งที่อาศัยก็ไม่ได้จริง เดี๋ยวก็ดับ ทุกสิ่งหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้เลยในขันธ์ ๕ มีแต่ของน่าเอือมระอา มีแต่ความทุกข์ นี่จิตเห็นความจริงอย่างนี้ จิตจะคืนขันธ์ ๕ ให้โลก ไม่ยึดถืออีกแล้ว ที่มันคืนไม่ได้ เพราะว่ามันหวง มันห่วง เพราะว่ามันดี นี่เราทำลายเชื้อเกิดได้ พอมันคืนขันธ์ ๕ ไปนะ คล้ายๆมีเมล็ดต้นไม้ เมล็ดมะม่วงสักเมล็ดหนึ่ง แต่ต้นอ่อนข้างในมันตายไปแล้ว ต้นอ่อนที่มันจะงอกขึ้นมาเป็นขันธ์ ๕ ถูกทำลาย ถ้าเราทำลายความเห็นผิดนะ ว่าจิตนี้เป็นของดีของวิเศษ ขันธ์ ๕ เป็นของดีของวิเศษ ทำลายตัวนี้ได้ เชื้อเกิดจะถูกทำลายไป เมื่อขันธ์ ๕ ไม่ใช่ของดีแล้ว ความอยากให้ขันธ์ ๕ มันสุข ให้มันดี ให้มันสงบ ไม่มีแล้ว รู้ว่ามันไม่ดี ความอยากจะพ้นจากทุกข์ ให้ขันธ์ ๕ พ้นทุกข์ ก็ไม่มี เห็นไหม อยากให้พ้นทุกข์ก็ไม่มีนะ อยากให้สุขก็ไม่มีนะ เพราะรู้แจ้งแล้วว่าทุกข์แน่นอน พอรู้แจ้งอย่างนี้ หมดแรงดิ้น จิตที่หมดแรงดิ้นนี่แหละจะเห็นพระนิพพาน จิตที่ยังดิ้นอยู่ ยังอยากอยู่ นี่มีตัณหาอยู่ ไม่เห็นพระนิพพาน พวกเรามีบุญแล้วนะ ได้ฟังธรรม ฝึกรู้สึกตัวไปบ่อยๆ รู้สึกตัวแล้วอย่ารู้อยู่เฉยๆ ดูรูปดูนาม ดูกายดูใจ ดูขันธ์ ๕ ทำงานเรื่อยไป วันหนึ่งเราก็จะตามพระพุทธเจ้าของเราไปนะ สวนสันติธรรม วันอาทิตย์ ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๔

รูปภาพ

Desktop3

รูปภาพ

videoplayback

รูปภาพ

สวมหัวใจเด็กไว้

รูปภาพ

นิพพาน เป็นอย่างไร

รูปภาพ

videoplayback 1

รูปภาพ

videoplayback

รูปภาพ

ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว

รูปภาพ

ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว

รูปภาพ

ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว

รูปภาพ

ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว

รูปภาพ

พระพุทธเจ้าสอน ให้เรา เรียนจนรู้ความจริงว่าความทุกข์มันเกิดได้อย่างไร ทำ...

รูปภาพ

Tesla Model Y, is it "S3XY" time?“จิตวิญญาณ” ของมนุษย์นั้นมีอยู่จริง นอกจากนี้มันยังสามารถที่จะแยกตัวออกจาก “กายหยาบ” ของเราได้ และถ้า “กายหยาบ” ปราศจากซึ่ง “จิตวิญญาณ” แล้ว มันก็ไม่สามารถจะดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วย กล่าวคือขณะที่เราฝันแบบรู้ตัว(LucidDreaming Effect)นั้น ตัวต้นของเราที่อยู่ในความฝันความจริงแล้วมันก็คือ “จิตวิญญาณ” หรือ “ตัวตนที่อยู่ในรูปของพลังงาน” ของเรานั้นเอง ปกติแล้ว จิตวิญญาณ ดังกล่าวก็จะดำรงอยู่ในโลกที่จิตปรุงแต่งขึ้นมาซึ่งก็คือ “โลกความฝัน” โดยในความฝันปกติที่เราไม่สามารถควบคุมมันได้นั้นก็เป็นเพราะ “จิต” ของเราขาดสมาธิ ความฝันจึงดำเนินไปตามจิตใต้สำนึกเป็นหลัก เมื่อความฝันจบลงเราก็จะตื่นขึ้นโดยไม่มีผลอะไรตามมา แต่ในกรณีที่เราฝันแล้วจิตของเราในตอนนั้นมีสมาธิที่สูง กรณีนี้ตัวเราจะสามารถควบคุมจิตวิญญาณของเราเองได้ สามารถกำหนดเรื่องราวที่เกิดขึ้นในความฝันได้ แต่อย่างไรก็ตามเราก็ไม่สามารถที่จะนำจิตวิญญาณของเราออกมาจากโลกของความฝันได้อยู่ดี เมื่อระดับสมาธิของเราต่ำลงถึงจุดหนึ่งเราก็จะไม่สามารถควบคุมความฝันได้อีก ความฝันของเราก็จะกลายเป็นความฝันปกติ หรือไม่เราก็จะตื่นจากความฝัน มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ #เวลาอริยมรรคจะเกิดจิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะจิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผลจะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดาที่เรียกว่ากามาวจรจิตกามาวจรภูมิไม่เป็นอย่างนั้น #จะต้องเข้าฌานนะเมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็นสภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะแต่ละคนไม่เท่ากันนะ #ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ถูกอริยมรรคแหวกออกไปแล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะนิพพานไม่ใช่ว่างเปล่านิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่งพวกเรายังไม่เคยเห็นเราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ

รูปภาพ

สมาธิ ฌาน กรรมฐาน ง่าย และ เร็ว ต้องพิจารณา อะไร? อย่างไร? : หลวงพ่อฤาษี...

รูปภาพ
บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป แสดงน้อยลง ตอบกลับ

สารคดีสั้น "แดนดินถิ่นพุทธภูมิ"พอเห็นความจริงได้ ละความเห็นผิดว่า กายกับใจเป็นเรา ก็เป็นพระโสดาบัน #ถ้าเมื่อไหร่เห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆและปล่อยวางความยึดถือกายได้ ก็ได้พระอนาคามี การเห็นความจริงของกายของใจ นั่นแหละ เรียกว่า มีดวงตาเห็นธรรม ธรรมะคืออะไร ธรรมะก็คือการที่เราเห็นว่ากายกับใจ รูปนาม ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พระโสดาบันที่ว่ามีดวงตาเห็นธรรมนั้น ท่านเห็นว่าทั้งรูปทั้งนามที่เกิดขึ้นมาล้วนแต่ดับไปทั้งสิ้น ไม่มีตัวเราหรอก นี่เรียกว่าดวงตาเห็นธรรม คือเห็นความจริงนั่นแหละ ความจริงของรูปของนาม ของกายของใจ พอเห็นความจริงได้ ละความเห็นผิดว่า กายกับใจเป็นเรา ก็เป็นพระโสดาบัน รู้กายรู้ใจต่อไปอีกนะ จนเห็นความจริง ของกายลึกซึ้งประณีตยิ่งขึ้นไปอีก กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ นะ ไม่ใช่กายนี้เป็นทุกข์บ้าง เป็นสุขบ้าง พวกเราเห็นแต่ว่ากายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จึงปล่อยวางไม่ได้จริง มันจะดิ้นหาแต่ความสุขและดิ้นหนีความทุกข์ไปเรื่อยๆ ถ้าเมื่อไหร่เราเห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย มันจะปล่อยวางความยึดถือกาย ถ้าปล่อยวาง ความยึดถือกายได้ ก็ได้พระอนาคามี สิ่งที่เรียกว่ากายนี้ ถ้ากระจายออกไปให้ละเอียดยิ่งขึ้น ก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง คือส่วนที่เป็นรูปธรรม ถ้ากระทั่งตาเรายังไม่ยึดถือ ใจมันก็จะไม่ยึดถือรูป ถ้ากระทั่งหูก็ไม่ยึดถือ ใจมันก็ไม่ยึดถือเสียง มันไม่ยึดถือจมูก มันก็ไม่ยึดถือกลิ่น ไม่ยึดถือลิ้น ก็ไม่ยึดถือรส ไม่ยึดถือกาย ก็ไม่ยึดถือโผฏฐัพพะ เพราะฉะนั้นจิตใจจะเป็นกลางต่อ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ รวมทั้งความคิดคำนึงถึงรูปเสียงกลิ่นรสและโผฏฐัพพะอันเป็นธรรมารมณ์ที่เรียกว่า 'กามธรรม' ด้วย ตรงที่ใจเป็นกลางต่อรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และกามธรรมนี้เป็นภูมิของพระอนาคามี เพราะเมื่อไม่ยินดีไม่ยินร้ายในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและกามธรรม ก็คือปราศจากกามราคะ และ ปฏิฆะนั่นเอง จิตพ้นจากกามภูมิ หรือกามาวจรภูมิ เพราะฉะนั้นพระอนาคามีจะไม่เวียนมาสู่กามภพ คือไม่เกิดเป็นสัตว์นรก ไม่เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน ไม่เกิดเป็นอสุรกาย ไม่เป็นเปรต ไม่เป็นมนุษย์ ไม่เป็นเทวดา แต่จะไปเกิดเป็นพรหม เป็นพรหมอัตโนมัตินะ อย่างต่ำที่สุดก็เป็นพรหมที่เรียกว่าพรหมปาริสัชชา อันเป็นพรหมบริวารของท้าวมหาพรหม พรหมมีทั้งหมด 20 ชั้น เป็นรูปพรหม 16 ชั้น เป็นอรูปพรหม 4 ชั้น ไม่ใช่ว่าพระ อนาคามีทุกองค์จะต้องอยู่สุทธาวาสนะ เข้าใจผิด สุทธาวาส เป็นภูมิของพระอนาคามีที่ได้ฌานที่ 4 แล้วมีอินทรีย์ 5 แก่กล้า คือมีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ หรือปัญญาแก่กล้า ถ้าได้ฌาน 4 เฉยๆ อินทรีย์ยังไม่แก่กล้า ก็ไปเป็นพรหมชั้นเวหัปผลา ไม่ต้องรู้ชื่อก็ได้นะ เดี๋ยวฟังแล้วก็ลืม ฟังเล่นๆ ไปอย่างนั้นแหละ เพราะฉะนั้นภูมิที่พระอนาคามีไปเกิดเนี่ย เป็นพรหมชั้นที่ 1 ยันชั้นที่ 20 ไปได้ตลอด ถ้าจะเว้นก็เว้นอยู่ชั้นเดียวคือพรหมลูกฟัก หรือ อสัญญสัตตาพรหม เพราะไม่สามารถเจริญวิปัสสนาได้อีก จะไปเป็นพรหมชั้นใดก็แล้วแต่ว่าได้ฌานชั้นไหน และอินทรีย์แก่กล้าไหม ทำไมต้องไปเป็นพรหม ก็เพราะว่าไม่ยึดถือในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นกามคุณอารมณ์นั่นเอง ทีนี้ถ้าพระอนาคามีองค์ไหนไม่นิ่งนอนใจนะ ได้พระอนาคามีไม่ยึดกายแล้ว ก็ยังไม่พ้นทุกข์จริง ยังต้องปฏิบัติต่อไปอีก การปฏิบัติก็จะบีบวงกระชับเข้ามาที่จิต จิตจะรู้เข้ามาที่จิต จะรวมเข้ามาที่จิตอันเดียว ตรงนี้จะมาเห็นอริยสัจแห่งจิต ถ้าเห็นอริยสัจ แห่งจิต ก็พ้นทุกข์ พ้นการเวียนว่ายตายเกิด เพราะเมื่อหมดความยึดถือจิต ก็จะไม่ยึดถือ อะไรในโลกอีก ธรรมะขั้นแรก จะเห็นว่าไม่มีตัวเรา ตัวเราหายไป พอมันเข้ามาถึงจิตถึงใจแล้ว อาสวะกิเลส ที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จิตของเราจะถูก อาสวะห่อหุ้มอยู่ อาสวะย้อมอยู่ แทรกย้อมอยู่ ตรงที่ขณะแห่งอริยมรรคเกิดขึ้น อริยมรรคจะแหวก อาสวะอันนี้ขาดออกจากกัน อาสวะนี้ออกแล้วจิตจะเข้าสัมผัสพระนิพพาน สองสามขณะ พวกที่มีบารมีแก่กล้าสัมผัสพระนิพพานสามขณะ พวกที่ไม่แก่กล้าสัมผัสสองขณะไม่เหมือนกัน บุญบารมียังไม่เท่ากัน โสดาบันไม่เท่ากันเลย โสดาบางคนเกิดอีกชาติเดียวก็จะจบละ บางคนอีกสามชาติจะจบไม่เกิดอีก อีกบางคนเจ็ดชาติถึงจะไม่เกิด กำลังมันไม่เท่ากัน แต่ว่าล้างความเห็นผิดได้เท่ากันว่าตัวตนไม่มี พอถอยออกจากสภาวะนี้ จิตจะกลับเข้ามาอยู่ยังความเป็นมนุษย์ปกติอย่างนี้แหละ แล้วมันจะทวนเข้าไปดูจิต มันจะทวนอัตโนมัติเข้าไปดู มันจะพบว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตนอีกต่อไป ร่างกายนี้ก็ไม่ใช่ตัวใช่ตนอีกต่อไป ที่ไหนๆ ก็ไม่มีตัวตนอีกต่อไป จะกลวงๆ ว่างจากความเป็นตัวตนไปหมด อย่างคำว่าจิตว่าง จิตว่างไม่ใช่ว่างเปล่า ว่างเปล่านั้นมันหมายถึงว่า ไม่มีอะไรเลย มันเป็นมิจฉาทิฏฐิไม่ใช่ทาง คำว่าว่างว่าง ว่างจากความเป็นตัวเป็นตน สภาวะนั้นมีอยู่แต่ไม่ใช่ตัวใช่ตน ไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา เพราะงั้นจะมีความรู้สึกว่ามันกลวงๆ มันว่างๆ ไม่มีตัวไม่มีตน แต่มีการกระทำ ยังมีการส่งกระแสจากความไม่มีตัวไม่มีตน จิตที่ไม่ใช่ตัวเรา และยังส่งกระแสไปทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไปยึดอารมณ์ได้อีก เรียกว่ามีการกระทำแต่ไม่มีผู้กระทำ จะรู้ชัดเลยว่าการกระทำมีอยู่แต่ไม่มีผู้กระทำ จะเห็นอย่างนี้

รูปภาพ

สารคดีสั้น "แดนดินถิ่นพุทธภูมิ"พอเห็นความจริงได้ ละความเห็นผิดว่า กายกับใจเป็นเรา ก็เป็นพระโสดาบัน #ถ้าเมื่อไหร่เห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆและปล่อยวางความยึดถือกายได้ ก็ได้พระอนาคามี การเห็นความจริงของกายของใจ นั่นแหละ เรียกว่า มีดวงตาเห็นธรรม ธรรมะคืออะไร ธรรมะก็คือการที่เราเห็นว่ากายกับใจ รูปนาม ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พระโสดาบันที่ว่ามีดวงตาเห็นธรรมนั้น ท่านเห็นว่าทั้งรูปทั้งนามที่เกิดขึ้นมาล้วนแต่ดับไปทั้งสิ้น ไม่มีตัวเราหรอก นี่เรียกว่าดวงตาเห็นธรรม คือเห็นความจริงนั่นแหละ ความจริงของรูปของนาม ของกายของใจ พอเห็นความจริงได้ ละความเห็นผิดว่า กายกับใจเป็นเรา ก็เป็นพระโสดาบัน รู้กายรู้ใจต่อไปอีกนะ จนเห็นความจริง ของกายลึกซึ้งประณีตยิ่งขึ้นไปอีก กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ นะ ไม่ใช่กายนี้เป็นทุกข์บ้าง เป็นสุขบ้าง พวกเราเห็นแต่ว่ากายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จึงปล่อยวางไม่ได้จริง มันจะดิ้นหาแต่ความสุขและดิ้นหนีความทุกข์ไปเรื่อยๆ ถ้าเมื่อไหร่เราเห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย มันจะปล่อยวางความยึดถือกาย ถ้าปล่อยวาง ความยึดถือกายได้ ก็ได้พระอนาคามี สิ่งที่เรียกว่ากายนี้ ถ้ากระจายออกไปให้ละเอียดยิ่งขึ้น ก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง คือส่วนที่เป็นรูปธรรม ถ้ากระทั่งตาเรายังไม่ยึดถือ ใจมันก็จะไม่ยึดถือรูป ถ้ากระทั่งหูก็ไม่ยึดถือ ใจมันก็ไม่ยึดถือเสียง มันไม่ยึดถือจมูก มันก็ไม่ยึดถือกลิ่น ไม่ยึดถือลิ้น ก็ไม่ยึดถือรส ไม่ยึดถือกาย ก็ไม่ยึดถือโผฏฐัพพะ เพราะฉะนั้นจิตใจจะเป็นกลางต่อ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ รวมทั้งความคิดคำนึงถึงรูปเสียงกลิ่นรสและโผฏฐัพพะอันเป็นธรรมารมณ์ที่เรียกว่า 'กามธรรม' ด้วย ตรงที่ใจเป็นกลางต่อรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และกามธรรมนี้เป็นภูมิของพระอนาคามี เพราะเมื่อไม่ยินดีไม่ยินร้ายในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและกามธรรม ก็คือปราศจากกามราคะ และ ปฏิฆะนั่นเอง จิตพ้นจากกามภูมิ หรือกามาวจรภูมิ เพราะฉะนั้นพระอนาคามีจะไม่เวียนมาสู่กามภพ คือไม่เกิดเป็นสัตว์นรก ไม่เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน ไม่เกิดเป็นอสุรกาย ไม่เป็นเปรต ไม่เป็นมนุษย์ ไม่เป็นเทวดา แต่จะไปเกิดเป็นพรหม เป็นพรหมอัตโนมัตินะ อย่างต่ำที่สุดก็เป็นพรหมที่เรียกว่าพรหมปาริสัชชา อันเป็นพรหมบริวารของท้าวมหาพรหม พรหมมีทั้งหมด 20 ชั้น เป็นรูปพรหม 16 ชั้น เป็นอรูปพรหม 4 ชั้น ไม่ใช่ว่าพระ อนาคามีทุกองค์จะต้องอยู่สุทธาวาสนะ เข้าใจผิด สุทธาวาส เป็นภูมิของพระอนาคามีที่ได้ฌานที่ 4 แล้วมีอินทรีย์ 5 แก่กล้า คือมีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ หรือปัญญาแก่กล้า ถ้าได้ฌาน 4 เฉยๆ อินทรีย์ยังไม่แก่กล้า ก็ไปเป็นพรหมชั้นเวหัปผลา ไม่ต้องรู้ชื่อก็ได้นะ เดี๋ยวฟังแล้วก็ลืม ฟังเล่นๆ ไปอย่างนั้นแหละ เพราะฉะนั้นภูมิที่พระอนาคามีไปเกิดเนี่ย เป็นพรหมชั้นที่ 1 ยันชั้นที่ 20 ไปได้ตลอด ถ้าจะเว้นก็เว้นอยู่ชั้นเดียวคือพรหมลูกฟัก หรือ อสัญญสัตตาพรหม เพราะไม่สามารถเจริญวิปัสสนาได้อีก จะไปเป็นพรหมชั้นใดก็แล้วแต่ว่าได้ฌานชั้นไหน และอินทรีย์แก่กล้าไหม ทำไมต้องไปเป็นพรหม ก็เพราะว่าไม่ยึดถือในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นกามคุณอารมณ์นั่นเอง ทีนี้ถ้าพระอนาคามีองค์ไหนไม่นิ่งนอนใจนะ ได้พระอนาคามีไม่ยึดกายแล้ว ก็ยังไม่พ้นทุกข์จริง ยังต้องปฏิบัติต่อไปอีก การปฏิบัติก็จะบีบวงกระชับเข้ามาที่จิต จิตจะรู้เข้ามาที่จิต จะรวมเข้ามาที่จิตอันเดียว ตรงนี้จะมาเห็นอริยสัจแห่งจิต ถ้าเห็นอริยสัจ แห่งจิต ก็พ้นทุกข์ พ้นการเวียนว่ายตายเกิด เพราะเมื่อหมดความยึดถือจิต ก็จะไม่ยึดถือ อะไรในโลกอีก ธรรมะขั้นแรก จะเห็นว่าไม่มีตัวเรา ตัวเราหายไป พอมันเข้ามาถึงจิตถึงใจแล้ว อาสวะกิเลส ที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จิตของเราจะถูก อาสวะห่อหุ้มอยู่ อาสวะย้อมอยู่ แทรกย้อมอยู่ ตรงที่ขณะแห่งอริยมรรคเกิดขึ้น อริยมรรคจะแหวก อาสวะอันนี้ขาดออกจากกัน อาสวะนี้ออกแล้วจิตจะเข้าสัมผัสพระนิพพาน สองสามขณะ พวกที่มีบารมีแก่กล้าสัมผัสพระนิพพานสามขณะ พวกที่ไม่แก่กล้าสัมผัสสองขณะไม่เหมือนกัน บุญบารมียังไม่เท่ากัน โสดาบันไม่เท่ากันเลย โสดาบางคนเกิดอีกชาติเดียวก็จะจบละ บางคนอีกสามชาติจะจบไม่เกิดอีก อีกบางคนเจ็ดชาติถึงจะไม่เกิด กำลังมันไม่เท่ากัน แต่ว่าล้างความเห็นผิดได้เท่ากันว่าตัวตนไม่มี พอถอยออกจากสภาวะนี้ จิตจะกลับเข้ามาอยู่ยังความเป็นมนุษย์ปกติอย่างนี้แหละ แล้วมันจะทวนเข้าไปดูจิต มันจะทวนอัตโนมัติเข้าไปดู มันจะพบว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตนอีกต่อไป ร่างกายนี้ก็ไม่ใช่ตัวใช่ตนอีกต่อไป ที่ไหนๆ ก็ไม่มีตัวตนอีกต่อไป จะกลวงๆ ว่างจากความเป็นตัวตนไปหมด อย่างคำว่าจิตว่าง จิตว่างไม่ใช่ว่างเปล่า ว่างเปล่านั้นมันหมายถึงว่า ไม่มีอะไรเลย มันเป็นมิจฉาทิฏฐิไม่ใช่ทาง คำว่าว่างว่าง ว่างจากความเป็นตัวเป็นตน สภาวะนั้นมีอยู่แต่ไม่ใช่ตัวใช่ตน ไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา เพราะงั้นจะมีความรู้สึกว่ามันกลวงๆ มันว่างๆ ไม่มีตัวไม่มีตน แต่มีการกระทำ ยังมีการส่งกระแสจากความไม่มีตัวไม่มีตน จิตที่ไม่ใช่ตัวเรา และยังส่งกระแสไปทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไปยึดอารมณ์ได้อีก เรียกว่ามีการกระทำแต่ไม่มีผู้กระทำ จะรู้ชัดเลยว่าการกระทำมีอยู่แต่ไม่มีผู้กระทำ จะเห็นอย่างนี้

รูปภาพ

เมื่อพระที่กำลังบิณฑบาตเจอพระธุดงค์ สิ่งที่เกิดขึ้น คือ...ท่านทำถูกต้องประเสริฐแล้ว สาธุๆๆสาวกพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ปฎิบัติดีปฎิบัติชอบ.

รูปภาพ

เมื่อพระที่กำลังบิณฑบาตเจอพระธุดงค์ สิ่งที่เกิดขึ้น คือ...ท่านทำถูกต้องประเสริฐแล้ว สาธุๆๆสาวกพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ปฎิบัติดีปฎิบัติชอบ.

รูปภาพ

ลักษณะของบุคคลที่จะได้บรรลุธรรมจิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละเขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้ สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ อันแรกรู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในใจ อันที่สองรู้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้น­­นั้นไม่ใช่ตัวเรา ถ้ารู้อย่างนี้แหละถึงเป็นทางสา­­ยเอกทางสายเดียวเพื่อความพ้นทุ­ก­ข์ ถ้าเราสามารถรู้กายตามความเป็นจ­­ริง รู้ใจตามความเป็นจริง รู้ซ๊ำแล้วซ๊ำอีก ถึงจุดหนึ่งมันจะเกิดปัญญา มันจะเห็นความจริง ปัญญาเป็นความเข้าใจ จิตใจมันจะเข้าใจสภาวธรรมทั้งหล­­ายนะ ทั้งกายทั้งใจ ทั้งรูปทั้งนาม ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ถ้าเข้าใจอย่างนี้ได้ ก็ปล่อยวางได้ เมื่อปล่อยวางได้ ก็พ้นทุกข์ได้ จิตใจจะมีแต่ความสุขถาวรแล้วครา­­วนี้ การปฏิบัติจริงๆ กรอบของมันมีเท่านี้เอง.. เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­­ล้ว

รูปภาพ

ลักษณะของบุคคลที่จะได้บรรลุธรรมจิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละเขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้ สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ อันแรกรู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในใจ อันที่สองรู้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้น­­นั้นไม่ใช่ตัวเรา ถ้ารู้อย่างนี้แหละถึงเป็นทางสา­­ยเอกทางสายเดียวเพื่อความพ้นทุ­ก­ข์ ถ้าเราสามารถรู้กายตามความเป็นจ­­ริง รู้ใจตามความเป็นจริง รู้ซ๊ำแล้วซ๊ำอีก ถึงจุดหนึ่งมันจะเกิดปัญญา มันจะเห็นความจริง ปัญญาเป็นความเข้าใจ จิตใจมันจะเข้าใจสภาวธรรมทั้งหล­­ายนะ ทั้งกายทั้งใจ ทั้งรูปทั้งนาม ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ถ้าเข้าใจอย่างนี้ได้ ก็ปล่อยวางได้ เมื่อปล่อยวางได้ ก็พ้นทุกข์ได้ จิตใจจะมีแต่ความสุขถาวรแล้วครา­­วนี้ การปฏิบัติจริงๆ กรอบของมันมีเท่านี้เอง.. เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­­ล้ว

รูปภาพ

สู่อริยภูมิ

รูปภาพ

Роми на Закарпатському весіллі.AVIhttps://www.youtube.com/watch?v=H3PrI-OWAJ8 มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ ถ้าเราเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่งอย่างแจ่มแจ้ง เราจะรู้เลยว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของว­ิเศษ ไม่ใช่ของที่น่ารักน่าหวงแหน มันเป็นภาระทั้งสิ้น มันเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ถ้าเราได้เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก จนใจเรายอมรับความจริงได้ ความยึดถือจะหมดไป พระพุทธเจ้าจึงสอนบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริง จึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด คือคลายความรักใคร่ยึดถือ เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว #ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่­งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแ­ต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุก­สิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียก­ว่าสังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุก­ข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหม­ดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อ#จิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละคือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น #แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผลบางคนเมื่อภาวนาไปจนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้นจิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ

รูปภาพ

惚れた女が死んだ夜は~附歌詞中譯~胡笙大師於戀戀鰲峰 樂音自來公益演奏

รูปภาพ
https://www.youtube.com/watch?v=H3PrI-OWAJ8 มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ ถ้าเราเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่งอย่างแจ่มแจ้ง เราจะรู้เลยว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของว­ิเศษ ไม่ใช่ของที่น่ารักน่าหวงแหน มันเป็นภาระทั้งสิ้น มันเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ถ้าเราได้เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก จนใจเรายอมรับความจริงได้ ความยึดถือจะหมดไป พระพุทธเจ้าจึงสอนบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริง จึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด คือคลายความรักใคร่ยึดถือ เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว #ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้

夢追い酒(夢追酒) - 渥美二郎( あつみ じろう )https://www.youtube.com/watch?v=H3PrI-OWAJ8 มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ ถ้าเราเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่งอย่างแจ่มแจ้ง เราจะรู้เลยว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของว­ิเศษ ไม่ใช่ของที่น่ารักน่าหวงแหน มันเป็นภาระทั้งสิ้น มันเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ถ้าเราได้เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก จนใจเรายอมรับความจริงได้ ความยึดถือจะหมดไป พระพุทธเจ้าจึงสอนบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริง จึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด คือคลายความรักใคร่ยึดถือ เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว #ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่­งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแ­ต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุก­สิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียก­ว่าสังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุก­ข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหม­ดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อ#จิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละคือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น #แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผลบางคนเมื่อภาวนาไปจนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้นจิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ

รูปภาพ

夢追い酒(夢追酒) - 渥美二郎( あつみ じろう )https://www.youtube.com/watch?v=H3PrI-OWAJ8 มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ ถ้าเราเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่งอย่างแจ่มแจ้ง เราจะรู้เลยว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของว­ิเศษ ไม่ใช่ของที่น่ารักน่าหวงแหน มันเป็นภาระทั้งสิ้น มันเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ถ้าเราได้เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก จนใจเรายอมรับความจริงได้ ความยึดถือจะหมดไป พระพุทธเจ้าจึงสอนบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริง จึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด คือคลายความรักใคร่ยึดถือ เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว #ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่­งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแ­ต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุก­สิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียก­ว่าสังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุก­ข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหม­ดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อ#จิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละคือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น #แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผลบางคนเมื่อภาวนาไปจนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้นจิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ

รูปภาพ

五木ひろし 沓掛時次郎[人生,歌がある]https://www.youtube.com/watch?v=H3PrI-OWAJ8 มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ ถ้าเราเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่งอย่างแจ่มแจ้ง เราจะรู้เลยว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของว­ิเศษ ไม่ใช่ของที่น่ารักน่าหวงแหน มันเป็นภาระทั้งสิ้น มันเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ถ้าเราได้เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก จนใจเรายอมรับความจริงได้ ความยึดถือจะหมดไป พระพุทธเจ้าจึงสอนบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริง จึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด คือคลายความรักใคร่ยึดถือ เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว #ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่­งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแ­ต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุก­สิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียก­ว่าสังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุก­ข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหม­ดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อ#จิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละคือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น #แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผลบางคนเมื่อภาวนาไปจนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้นจิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ

รูปภาพ

五木ひろし 沓掛時次郎[人生,歌がある]https://www.youtube.com/watch?v=H3PrI-OWAJ8 มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ ถ้าเราเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่งอย่างแจ่มแจ้ง เราจะรู้เลยว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของว­ิเศษ ไม่ใช่ของที่น่ารักน่าหวงแหน มันเป็นภาระทั้งสิ้น มันเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ถ้าเราได้เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก จนใจเรายอมรับความจริงได้ ความยึดถือจะหมดไป พระพุทธเจ้าจึงสอนบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริง จึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด คือคลายความรักใคร่ยึดถือ เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว #ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่­งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแ­ต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุก­สิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียก­ว่าสังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุก­ข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหม­ดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อ#จิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละคือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น #แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผลบางคนเมื่อภาวนาไปจนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้นจิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ

รูปภาพ

森山愛子 こころ酒https://www.youtube.com/watch?v=H3PrI-OWAJ8 มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ ถ้าเราเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นเพียงมุมใดมุมหนึ่งอย่างแจ่มแจ้ง เราจะรู้เลยว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของว­ิเศษ ไม่ใช่ของที่น่ารักน่าหวงแหน มันเป็นภาระทั้งสิ้น มันเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ถ้าเราได้เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก จนใจเรายอมรับความจริงได้ ความยึดถือจะหมดไป พระพุทธเจ้าจึงสอนบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริง จึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด คือคลายความรักใคร่ยึดถือ เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว #ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่­งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแ­ต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุก­สิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียก­ว่าสังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุก­ข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหม­ดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อ#จิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละคือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น #แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผลบางคนเมื่อภาวนาไปจนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้นจิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ

รูปภาพ

ทางหมดทุกข์#ทำเพื่อให้ไม่เกิดอีกต่อไป#การบรรลุมรรคผล#ทางพระนิพพาน บางท่านเห็นว่าจิตผู้รู้มันเป็นทุกข์ พวกที่ทรงสมาธิมากๆ จะเห็นว่ามันเป็นทุกข์ เพราะถ้าท่านไม่เห็นว่าจิตผู้รู้เป็นทุกข์­นะ จะไม่ยอมปล่อย เพราะสมาธิมากตัวผู้รู้มีแต่ความสุขนะ ถ้าปัญญาแก่รอบจริงๆจะเห็นเลย เป็นตัวทุกข์ ทุกข์แบบไม่มีอะไรเหมือน พอเห็นว่าตัวผู้รู้ก็เป็นทุกข์ จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเล­ย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป

รูปภาพ

เดินจิตเข้าสู่ทางสายกลาง

รูปภาพ

เดินจิตเข้าสู่ทางสายกลาง

รูปภาพ

นิพพาน

รูปภาพ

พุทธภูมิ-ปัจเจกภูมิ-สาวกภูมิเศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตวโลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า.เป็นผู้ที่ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือเดินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่ที่นี่ ” ดูก่อน..ภราดา ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชมาให้เศรษฐีอย่างล้นเหลือ เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้อย่างถูกต้อง เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นเป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบสู่โลก"ดูก่อนผู้สืบอริยวงค์" 'พระธรรมเทศนาของพระศาสดานั้น ไพเราะจับใจและแจ่มแจ้งยิ่งนัก เพราะเหตุนี้เมื่อพระองค์แสดงธรรมจบลง จึงมักมีผู้ชมเชยเสมอว่า "แจ่มแจ้งจริงพระเจ้าข้าฯ เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ส่องประทีปในที่มืด เพื่อให้ผู้มีตาดีได้มองเห็นรูป' ดังนี้ อนาถปิณฑิกเศรษฐี หรืออีกนัยหนึ่งคือสุทัตตคฤหบดี ซึ่งบัดนี้ได้เป็นโสดาบันแล้ว ด้วยการฟังพระธรรมเทศนาครั้งเดียว ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตน ล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พัก เพื่อพระสงฆ์สาวก ตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

รูปภาพ

จิตจะเข้าไปสัมผัสกับนิพพานอันสงบและเป็นสุขอย่างยิ่ง#การเกิดอริยมรรค#ทางพระนิพพาน#ความหลุดพ้น เมื่อเราภาวนาคือเจริญสติจนจิตปล่อยวางความถือมั่นในจิตได้แล้วจิตจะเข้าไปสัมผัสกับนิพพานอันสงบและเป็นสุขอย่างยิ่งที่สงบเพราะปราศจากการกระทบกระทั่งทั้งปวงที่สุขเพราะปราศจากความเสียดแทงทั้งปวงเมื่อแรกเข้าถึงนิพพานนั้นจิตได้ประสบกับความสุขอันแปลกใหม่ที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อนเป็นความสุขที่ท่วมท้นจิตใจและธาตุขันธ์จนสะอื้นในอกและน้ำตาตกระลึกถึงคราวใดก็มีความสุขจนสะอื้นในอกอยู่หลายวันจิตจึงค่อยๆ คุ้นชินกับความสุขสงบนั้นและเข้าสู่ภาวะแห่งความเป็นปกติธรรมดาที่มีความสุขอย่างยิ่งความสงบของนิพพานก็เป็นสิ่งที่เกินพรรณนาเพราะนิพพานนั้นเต็มบริบูรณ์อยู่ต่อหน้าต่อตาครอบคลุมโลกธาตุทั้งปวงที่กำลังเคลื่อนไหวไว้ทั้งหมดแต่สงบสงัดและไม่มีสิ่งใดปนเปื้อนเข้าถึงนิพพานอันบริสุทธิ์นั้นได้เลยการจะเข้าใจถึงนิพพานเป็นสิ่งที่ทำได้ยากแต่ถ้าเข้าใจสภาวะจิตของพระอรหันต์ได้แล้วก็พอจะอนุมานถึงสภาวะของนิพพานได้บ้างจิตของพระอรหันต์ไม่เหมือนจิตของท่านผู้อื่นเพราะแหวกสิ่งห่อหุ้มออกได้หมดแล้วจึงเป็นอิสระและกว้างขวางไร้ขอบเขตมีสภาพคล้ายกับไฟที่ดับลงแล้ว ไม่มีการประทุขึ้นอีกความร้อนของไฟย่อมกระจายออกไปเต็มโลกธาตุ

รูปภาพ

การเกิดอริยมรรคถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ

รูปภาพ

ทำไมพระพุทธเจ้า ต้องนอนตะแคงขวา - ไทยกระจ่างเอโกทิภาวะ หรือภาวะแห่งความเป็นหนึ่ง ในอรรถกถาบอกว่า คือสัมมาสมาธินั่นเอง เอโกทิภาวะก็คือ สภาวะที่ใจนี้ตั้งมั่น เด่นดวง ขึ้นมา แล้วมันเห็นอารมณ์ทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นของถูกรู้ถูกดู ใจมันเป็นแค่ผู้รู้ผู้ดู เนี่ยถ้าใจเราเข้าไปถึงฌานที่ ๒ ทุติยฌาน เราจะได้ เอโกทิภาวะ ขึ้นมา และถ้าถึง ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ถึงฌานที่ ๘ อะไรเหล่านี้ ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ...ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวง ...เป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวง ...

รูปภาพ

ธรรมชาติของจิต

รูปภาพ
ทูรงฺคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา.ชนเหล่าใดจักสำรวมจิตอันไปในที่ไกล เที่ยวไปดวงเดียวมีร่างกายเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้นจะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร.

videoplayback 2สัตว์ถือปฏิสนธิครั้งแรก อยู่ในครรภ์ตลอดคืนหนึ่ง ดำเนินไปไม่หวนกลับ เหมือนเมฆหมอกที่ตั้งขึ้นแล้วลอยผ่านไป นรชนทั้งหลายประกอบพร้อมด้วยกำลังพล สู้รบอยู่ในสงคราม จะไม่แก่ไม่ตายก็หาไม่ เพราะว่าสัตว์มีชีวิตนั้นล้วนถูกชาติและชราเบียดเบียน เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม พระราชาผู้เป็นใหญ่แห่งแคว้น ทรงข่มขี่ราชาศัตรูผู้มีเสนาประกอบด้วยองค์ ๔ มีรูปร่างน่าสะพรึงกลัว เอาชนะได้ แต่ไม่สามารถเอาชนะเสนาแห่งพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม พระราชาบางพวกแวดล้อมด้วยกองทัพช้าง กองทัพม้า กองทัพรถ กองทัพพลเดินเท้า ย่อมพ้นจากเงื้อมมือของปัจจามิตรได้ แต่ไม่อาจทรงพ้นจากพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม พระราชาทั้งหลายผู้ทรงกล้าหาญ ทรงหักค่ายทำลายนคร กำจัดมหาชนได้ด้วยกองทัพช้าง กองทัพม้า กองทัพรถ กองทัพพลเดินเท้า แต่ไม่อาจจะทรงหักรานพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม ช้างทั้งหลายที่กำลังตกมัน มีมันไหลเยิ้ม ย่อมย่ำยีบ้านเมือง เข่นฆ่าประชาชนได้ แต่ไม่อาจย่ำยีพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม นายขมังธนูทั้งหลายผู้มีฝีมือฝึกปรือดีแล้ว เป็นผู้กล้าหาญ สามารถยิงไปได้ไกล แม่นยำไม่ผิดพลาด แต่ไม่อาจจะยิงพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม สระทั้งหลายย่อมเสื่อมสิ้นไป พื้นปฐพีพร้อมทั้งราวป่าก็หมดสิ้นไป ถึงทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ตลอดกาลนานเข้าก็เสื่อมสิ้นไป เพราะสังขารทั้งหลายย่อมแตกสลายไปตามกาลกำหนด เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม แท้จริงชีวิตของเหล่าสัตว์ทั้งปวงทั้งหญิงชายในโลกนี้ มีสภาพหวั่นไหว ปั่นป่วน เหมือนแผ่นผ้าของนักเลง เหมือนต้นไม้ที่เกิดใกล้ฝั่ง เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม ทั้งคนหนุ่ม ทั้งคนแก่ ทั้งหญิง ทั้งชาย ทั้งบัณเฑาะก์ ย่อมมีกายแตกทำลายไปเหมือนผลไม้หล่นจากต้น เพราะเหตุนั้นข้าพเจ้าจึงมีความคิดว่าจะประพฤติธรรม

รูปภาพ

มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บา...

รูปภาพ
เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่­งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแ­ต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุก­สิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียก­ว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุก­ข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่

มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บา...

รูปภาพ
เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่า มันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่­งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแ­ต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุก­สิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียก­ว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุก­ข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่

videoplayback

รูปภาพ

videoplayback 2https://www.youtube.com/watch?v=2y5NvVF3lFs

รูปภาพ

สถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ

รูปภาพ

videoplayback 4

รูปภาพ

พระราชพรหมยาน(หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)กฏความเป็นจริงทำจิตอย่างนี้ทุกวันเป็นอรหันต์เอง

รูปภาพ

videoplayback 1

รูปภาพ

บ้านเกิดเมืองนอน#ดวงตาเห็นธรรมปฐมมรรคพอเห็นความจริงได้ละความเห็นผิดว่ากายกับใจเป็นเราก็เป็นพระโสดาบัน #ถ้าเมื่อไหร่เห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆและปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็ได้พระอนาคามีการเห็นความจริงของกายของใจนั่นแหละเรียกว่ามีดวงตาเห็นธรรม ธรรมะคืออะไร ธรรมะก็คือการที่เราเห็นว่ากายกับใจ รูปนาม ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พระโสดาบันที่ว่ามีดวงตาเห็นธรรมนั้น ท่านเห็นว่าทั้งรูปทั้งนามที่เกิดขึ้นมาล้วนแต่ดับไปทั้งสิ้น ไม่มีตัวเราหรอก นี่เรียกว่าดวงตาเห็นธรรม คือเห็นความจริงนั่นแหละ ความจริงของรูปของนาม ของกายของใจ พอเห็นความจริงได้ ละความเห็นผิดว่า กายกับใจเป็นเรา ก็เป็นพระโสดาบัน รู้กายรู้ใจต่อไปอีกนะ จนเห็นความจริง ของกายลึกซึ้งประณีตยิ่งขึ้นไปอีก กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ นะ ไม่ใช่กายนี้เป็นทุกข์บ้าง เป็นสุขบ้าง พวกเราเห็นแต่ว่ากายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จึงปล่อยวางไม่ได้จริง มันจะดิ้นหาแต่ความสุขและดิ้นหนีความทุกข์ไปเรื่อยๆ ถ้าเมื่อไหร่เราเห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย มันจะปล่อยวางความยึดถือกาย ถ้าปล่อยวาง ความยึดถือกายได้ ก็ได้พระอนาคามี สิ่งที่เรียกว่ากายนี้ ถ้ากระจายออกไปให้ละเอียดยิ่งขึ้น ก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง คือส่วนที่เป็นรูปธรรม ถ้ากระทั่งตาเรายังไม่ยึดถือ ใจมันก็จะไม่ยึดถือรูป ถ้ากระทั่งหูก็ไม่ยึดถือ ใจมันก็ไม่ยึดถือเสียง มันไม่ยึดถือจมูก มันก็ไม่ยึดถือกลิ่น ไม่ยึดถือลิ้น ก็ไม่ยึดถือรส ไม่ยึดถือกาย ก็ไม่ยึดถือโผฏฐัพพะ เพราะฉะนั้นจิตใจจะเป็นกลางต่อ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ รวมทั้งความคิดคำนึงถึงรูปเสียงกลิ่นรสและโผฏฐัพพะอันเป็นธรรมารมณ์ที่เรียกว่า 'กามธรรม' ด้วย ตรงที่ใจเป็นกลางต่อรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และกามธรรมนี้เป็นภูมิของพระอนาคามี เพราะเมื่อไม่ยินดีไม่ยินร้ายในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและกามธรรม ก็คือปราศจากกามราคะ และ ปฏิฆะนั่นเอง จิตพ้นจากกามภูมิ หรือกามาวจรภูมิ เพราะฉะนั้นพระอนาคามีจะไม่เวียนมาสู่กามภพ คือไม่เกิดเป็นสัตว์นรก ไม่เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน ไม่เกิดเป็นอสุรกาย ไม่เป็นเปรต ไม่เป็นมนุษย์ ไม่เป็นเทวดา แต่จะไปเกิดเป็นพรหม เป็นพรหมอัตโนมัตินะ อย่างต่ำที่สุดก็เป็นพรหมที่เรียกว่าพรหมปาริสัชชา อันเป็นพรหมบริวารของท้าวมหาพรหม พรหมมีทั้งหมด 20 ชั้น เป็นรูปพรหม 16 ชั้น เป็นอรูปพรหม 4 ชั้น ไม่ใช่ว่าพระ อนาคามีทุกองค์จะต้องอยู่สุทธาวาสนะ เข้าใจผิด สุทธาวาส เป็นภูมิของพระอนาคามีที่ได้ฌานที่ 4 แล้วมีอินทรีย์ 5 แก่กล้า คือมีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ หรือปัญญาแก่กล้า ถ้าได้ฌาน 4 เฉยๆ อินทรีย์ยังไม่แก่กล้า ก็ไปเป็นพรหมชั้นเวหัปผลา ไม่ต้องรู้ชื่อก็ได้นะ เดี๋ยวฟังแล้วก็ลืม ฟังเล่นๆ ไปอย่างนั้นแหละ เพราะฉะนั้นภูมิที่พระอนาคามีไปเกิดเนี่ย เป็นพรหมชั้นที่ 1 ยันชั้นที่ 20 ไปได้ตลอด ถ้าจะเว้นก็เว้นอยู่ชั้นเดียวคือพรหมลูกฟัก หรือ อสัญญสัตตาพรหม เพราะไม่สามารถเจริญวิปัสสนาได้อีก จะไปเป็นพรหมชั้นใดก็แล้วแต่ว่าได้ฌานชั้นไหน และอินทรีย์แก่กล้าไหม ทำไมต้องไปเป็นพรหม ก็เพราะว่าไม่ยึดถือในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นกามคุณอารมณ์นั่นเอง ทีนี้ถ้าพระอนาคามีองค์ไหนไม่นิ่งนอนใจนะ ได้พระอนาคามีไม่ยึดกายแล้ว ก็ยังไม่พ้นทุกข์จริง ยังต้องปฏิบัติต่อไปอีก การปฏิบัติก็จะบีบวงกระชับเข้ามาที่จิต จิตจะรู้เข้ามาที่จิต จะรวมเข้ามาที่จิตอันเดียว ตรงนี้จะมาเห็นอริยสัจแห่งจิต ถ้าเห็นอริยสัจ แห่งจิต ก็พ้นทุกข์ พ้นการเวียนว่ายตายเกิด เพราะเมื่อหมดความยึดถือจิต ก็จะไม่ยึดถือ อะไรในโลกอีก ธรรมะขั้นแรก จะเห็นว่าไม่มีตัวเรา ตัวเราหายไป พอมันเข้ามาถึงจิตถึงใจแล้ว อาสวะกิเลส ที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จิตของเราจะถูก อาสวะห่อหุ้มอยู่ อาสวะย้อมอยู่ แทรกย้อมอยู่ ตรงที่ขณะแห่งอริยมรรคเกิดขึ้น อริยมรรคจะแหวก อาสวะอันนี้ขาดออกจากกัน อาสวะนี้ออกแล้วจิตจะเข้าสัมผัสพระนิพพาน สองสามขณะ พวกที่มีบารมีแก่กล้าสัมผัสพระนิพพานสามขณะ พวกที่ไม่แก่กล้าสัมผัสสองขณะไม่เหมือนกัน บุญบารมียังไม่เท่ากัน โสดาบันไม่เท่ากันเลย โสดาบางคนเกิดอีกชาติเดียวก็จะจบละ บางคนอีกสามชาติจะจบไม่เกิดอีก อีกบางคนเจ็ดชาติถึงจะไม่เกิด กำลังมันไม่เท่ากัน แต่ว่าล้างความเห็นผิดได้เท่ากันว่าตัวตนไม่มี พอถอยออกจากสภาวะนี้ จิตจะกลับเข้ามาอยู่ยังความเป็นมนุษย์ปกติอย่างนี้แหละ แล้วมันจะทวนเข้าไปดูจิต มันจะทวนอัตโนมัติเข้าไปดู มันจะพบว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตนอีกต่อไป ร่างกายนี้ก็ไม่ใช่ตัวใช่ตนอีกต่อไป ที่ไหนๆ ก็ไม่มีตัวตนอีกต่อไป จะกลวงๆ ว่างจากความเป็นตัวตนไปหมด อย่างคำว่าจิตว่าง จิตว่างไม่ใช่ว่างเปล่า ว่างเปล่านั้นมันหมายถึงว่า ไม่มีอะไรเลย มันเป็นมิจฉาทิฏฐิไม่ใช่ทาง คำว่าว่างว่าง ว่างจากความเป็นตัวเป็นตน สภาวะนั้นมีอยู่แต่ไม่ใช่ตัวใช่ตน ไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา เพราะงั้นจะมีความรู้สึกว่ามันกลวงๆ มันว่างๆ ไม่มีตัวไม่มีตน แต่มีการกระทำ ยังมีการส่งกระแสจากความไม่มีตัวไม่มีตน จิตที่ไม่ใช่ตัวเรา และยังส่งกระแสไปทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไปยึดอารมณ์ได้อีก เรียกว่ามีการกระทำแต่ไม่มีผู้กระทำ จะรู้ชัดเลยว่าการกระทำมีอยู่แต่ไม่มีผู้กระทำ จะเห็นอย่างนี้

รูปภาพ

ทางโสดาบันเราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา #ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆเราจะเห็นเลยความสุขอยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย #ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หายโลภโกรธหลงอยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ #เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้นจิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ #จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผลจะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดาที่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น #จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ

รูปภาพ

Desktop2การหลุดพ้น ในทางพระพุทธศาสนา

รูปภาพ

เรียนอภิญญา หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ภาวนา "สัมปจิตฉามิ" ของเก่าฝึกมาหมด 2560

รูปภาพ
การฝึกอภิญญานั้น มีวิธีเดียว คือ ฝึกกสิณ10 ในฌาน 4 หรือ กสิณ10 ในฌาน 8 ถึงแม้ในอดีตชาติ จะเคยฝึกได้มาแล้ว จนมีฤทธิ์ เหาะเหินเดินอากาศ ได้อย่างสบายๆ ถึงแม้ชาติก่อนจะเกิดเป็นองค์มหาเทพเทวา ผู้ทรงฤทธิ์ธานุภาพ อำนาจ เป็นที่เกรงขามไปทั้ง3โลก แต่หากแม้ ยังต้องเกิดอยู่อีก คุณก็จะต้องเริ่มฝึกใหม่ตั้งแต่ต้น แต่ก็จะได้เปรียบชาวบ้านเค้า ตรงที่ เรียนรู้ได้เร็วกว่า มีความคล่องตัวในการใช้ฤทธิ์มากกว่า เพราะมีของเก่าติดตัวมา แค่ทบทวนนิดหน่อยก็เป็นแล้ว เหมือนกับคนที่ขี่จักรยานเป็นแล้ว แม้ไม่ได้ขี่สัก10ปี แต่ถ้าได้ลองขี่ ก็ยังสามารถขี่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น ขอเพิ่มรายละเอียดนิดหนึ่งครับ สำหรับผู้ที่เคยได้อภิญญามาในชาติที่แล้ว ในชาตินี้สามารถฝึกวิธีลัดได้ คือ สามารถข้ามขั้นตอนการฝึกกสิณ ไปได้เลยครับ สำหรับผู้ที่เคยได้อภิญญามาในอดีตชาติิ ให้ภาวนา "สัมปจิตฉามิ" เมื่อของเก่ากลับคืนมาแล้ว สามารถอธิษฐานฤทธิ์ ในฌาน4 ได้ทันที โดยไม่ต้องฝึกกสิณ สำหรับผู้ปฏิบัติธรรมในอัชฌาสัยอภิญญา ให้ฝึกทรงฌาน4 เอาไว้ แล้วอภิญญาเก่าจะค่อยๆปรากฎ แล้วก็นำไปใช้ได้ทันที สำหรับผู้ปฏิบัติธรรมในอัชฌาสัยปฏิสัมภิทา

สถานที่ปรินิพพาน กุสินารา Mahaparinirvana Temple - Kushinagarพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตั้งอยู่ในพุทธวิสัยของพระองค์ ทรงถือยอดคืออรหัตด้วยเทศนา. ส่วนกุลบุตรแทงตลอดสามัญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. พระราชาเสวยโภชนะมีรสต่างๆ ด้วยภาชนะทองคำ ทรงปั้นก้อนข้าวโดยประมาณของพระองค์ ครั้นเมื่อพระราชกุมารประทับนั่ง ณ พระเพลา แสดงความอาลัยในก้อนข้าวพึงทรงน้อมก้อนข้าวนั้น. กุมารทรงทำคำข้าวโดยประมาณพระโอษฐ์ของพระองค์ พระราชาทรงเสวยคำข้าวที่เหลือด้วยพระองค์เองหรือทรงใส่ในจานฉันใด พระตถาคตผู้ธรรมราชาก็ฉันนั้น เมื่อทรงถือยอดคือพระอรหัตโดยประมาณพระองค์ ทรงแสดงเทศนา. กุลบุตรแทงตลอดสามัญญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. ก็ในกาลก่อนแต่นี้ กุลบุตรนั้นแสดงกถาอันประกอบด้วยไตรลักษณ์ อันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่งเห็นปานนี้ว่า ขันธ์ ธาตุ อายตนะทั้งหลาย ย่อมไม่กังขา ย่อมไม่สงสัยว่า นัยว่าไม่เป็นอย่างนั้น ข้อนั้นอาจารย์ของเรากล่าวแล้วอย่างนี้ ทราบว่า ความเป็นคนเขลา ความเป็นผู้ผิดไม่มี ด้วยประการฉะนี้. ได้ยินว่า ในฐานะบางอย่าง พระพุทธเจ้าทั้งหลายเสด็จไปด้วยเพศอันบุคคลไม่รู้ได้ ได้มีความสงสัย มีความเคลือบแคลงว่า นั่นเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหนอแล. เพราะกุลบุตรนี้แทงตลอดอนาคามิผลแล้ว ในกาลนั้นจึงถึงความตกลงว่า บุคคลนี้ คือพระศาสดาของเรา. ถามว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร กุลบุตรจึงไม่แสดงโทษล่วงเกินเล่า. ตอบว่า เพราะไม่มีโอกาส. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำวาระอันไม่ตัดแล้วด้วยมาติกาตามที่ทรงยกขึ้นแล้ว จึงทรงแสดงพระเทศนา ดุจทรงให้หยั่งลงสู่อากาศคงคาฉะนั้น

รูปภาพ

มกุฏพันธนเจดีย์ และสถานที่แบ่งพระธาตุ - Ramabhar stupa

รูปภาพ
ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก

videoplayback 1

รูปภาพ

videoplayback

รูปภาพ

videoplayback 1

รูปภาพ

ทางดับทุกข์

รูปภาพ

รักษาพระนครเอาไว้จงพากันทำตัวให้เหมือนกับนักรบโบราณ สมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน่นหนา มีค่ายคูประตูหอรบเสร็จ เพื่อป้องกันข้าศึกอันจะมาราวี นักรบที่ฉลาด เมื่อออกรบกับข้าศึกเห็นว่าจะสู้ข้าศึกไม้ได้แล้ว ก็ล่าทัพกลับสู่พระนคร แล้วรักษาพระนครเอาไว้ไม่ให้ข้าศึกเข้ามาทำลายได้ พร้อมกันนั้นก็สะสมรี้พลอาวุธและอาหารให้พร้อมเพรียง(คือ ทำสมาธิ ให้มั่นคงกล้าหาญ ) แล้วจึงออกรบข้าศึกอีกต่อไป (คือ มวลกิเลสทั้งปวง) สมาธิเป็นกำลังสำคัญมาก ถ้าไม่มีสมาธิแล้ววิปัสสนาจะเอากำลังมาจากไหน ปัญญาวิปัสสนามิใช่เป็นของจะพึงแต่งเอาได้เมื่อไร แต่เกิดจากสมาธิ ที่หัดได้ชำนิชำนาญมั่นคงดีแล้วต่างหาก ถึงผู้ได้สุกขวิปัสสกก็เถิด ถ้าไม่มีสมถะแล้วจะเอาวิปัสสนามาจากไหน เป็นแต่สมถะของท่านไม่คล่องเท่านั้น อย่างนี้พอฟังได้ ผู้ปฏิบัติทั้งหลาย เมื่อได้ทำสมาธิให้มั่นคงแน่นหนาดีแล้ว จนกระทั่งจะเข้าจะออกก็ได้ จะอยู่ให้นานๆ และพิจารณากายอันนี้ให้เป็นอสุภะ หรือเป็นธาตุก็ได้ พิจารณาคนในโลกนี้ทั้งหมดให้เป็นโครงกระดูกทั้งหมดก็ได้ หรือพิจารณาให้เห็นในโลกนี้ทั้งหมดว่างเป็นอัชฌัตตากาศ ว่างเปล่าไปหมดก็ได้ ฯลฯ จิตผู้มีสมาธิเต็มที่แล้ว ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน ย่อมเป็นสมาธิอยู่ตลอดเวลา แล้วก็มองเห็นกิเลสของตน ซึ่งเกิดจากจิตของตนได้ชัดเจนว่า กิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง มัน เกิดจากสิ่งนี้ๆ และมัน ตั้งอยู่ ได้ด้วยอาการอย่างนี้ ๆ แล้วก็หาอุบาย ละ ด้วยอย่างนี้ ๆ เหมือนกับน้ำในสระที่ขุ่นมาเป็นร้อยๆ ปี เพิ่งมาใสสะอาดมองเห็นสิ่งสารพัดที่มีอยู่ก้นสระว่า แต่ก่อนแต่ไรเราไม่นึกไม่คิดเลยว่า ในก้นสระนี้มันจะมีของเหล่านี้ นั้น เรียกว่า วิปัสสนา คือ ความรู้ความเห็นตามสภาพจริง มันเป็นจริง อย่างไรก็เห็นตามความเป็นจริงอย่างนั้น ไม่วิปริตผิดแปลกจากความเป็นจริงของมัน สมถะ ก็ละกิเลสได้เหมือนกัน แต่ละได้เหมือนคนถางหญ้า ตัดแต่ต้นให้ขาด ไม่ขุดเอารากออกให้หมด รากมันย่อมมีเวลางอกขึ้นมาอีกในเมื่อฝนตกลงมา คือ เห็นโทษในอารมณ์ที่มันเกิดจากอายตนะนะหกเหมือนกัน แต่เมื่อเห็นโทษก็รีบเข้าหาความสงบ โดยไม่พิจารณาอารมณ์นั้นๆให้ถี่ถ้วนอย่างสมาธิ สรุปความแล้วเรียกว่า ชอบเอาแต่ความสงบอย่างเดียว ไม่อยากพิจารณาให้เนิ่นช้า เหมือนกับตัวแย้อาศัยรูเป็นเครื่องป้องกันภัยอันตราย เมื่อเห็นศัตรูมาก็วิ่งเข้ารูเสีย พ้นภัยอันตรายไประยะหนึ่งๆ ก็เท่านั้น ผู้ต้องการขุดรากเหง้าของกิเลสในตัว เมื่อกิเลสมันเกิดจากอายตนะทั้งหกในตัวของตน เช่น ตาเห็นรูป หูได้ฟังเสียงเป็นต้น เกิดผู้ผัสสะขึ้นให้ยินดีหรือยินร้าย ดีใจและเสียใจ เป็นต้น แล้วเข้าไปยึดเอามาเป็นอารมณ์ของตน ขุ่นมัวอยู่ในใจ จนเป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนดิ้นรน กินไม่ได้นอนไม่หลับ เมื่อเห็นชัดอย่างนี้แล้ว พึงทำสมาธิ ให้มั่นคงเป็นหลักเสียก่อน แล้วจึงตั้งจิตพิจารณาเฉพาะในอารมณ์นั้น ๆ แต่สิ่งเดียว เช่น ตาเห็นรูปที่เป็น อิฏฐารมณ์ แล้วเกิดความยินดีพอใจขึ้น ก็ให้พิจารณาเฉพาะแต่ความยินดีพอใจนั้นว่า มันเกิดจากตาหรือเกิดจากรูปกันแน่ เมื่อพิจารณาถึงรูปก็เห็นว่า รูปมันเป็นแต่รูปธรรมต่างหาก มันจะดีหรือเลว มันไม่ได้มาชักชวนให้เราไปยินดี หรือยินร้าย หรือให้เราไปหลงรักหรือชัง มันเป็นแต่รูปเฉยๆ เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป มันดับไปตามสภาพของมันต่างหาก เมื่อพิจารณาตามตาผู้ไปเห็นรูปเล่า ตาผู้ส่งส่ายไปเห็นรูป พอกระทบเท่านั้นแสงสะท้อนกลับเข้ามาหาจักษุประสาทเข้า ก็เป็นรูปต่าง ๆนานาเกิดขึ้น ตาก็ไม่ได้ชักชวนไปให้ยินดียินร้าย หรือให้รักให้ชังอะไร ตามีหน้าที่ให้เห็น เห็นรูปแล้วก็ดับไป สิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์ และอนิฏฐารมณ์ หรืออายตนะอื่นๆ ก็ให้พิจารณาอย่างเดียวกันนี้ เมื่อเราพิจารณาอย่างนี้แล้วก็จะเห็นชัดว่า สิ่งทั้งปวงหมดในโลกนี้ มันจะเกิดกิเลสขึ้นก็เพราะอายตนะทั้งหกนี้เป็นต้นเหตุทั้งนั้น ถ้าเราพิจารณาและไม่หลงตามอายตนะทั้งหกนี้ กิเลสก็จะไม่เกิดขึ้นในตัวของเรา ตรงกันข้าม มันจะเกิดปัญญาก็เพราะมีอายตนะทั้งหกนี้ อายตนะทั้งหกนี้เป็นสื่อกลางของความดีและความชั่ว จะไปสุคติและทุคติก็เพราะอายตนะทั้งหกเป็นต้นเหตุ โลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียว จิต กับ ใจ ย่อมมีลักษณะอาการต่างกัน จิต ได้แก่ ผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง และสัญญา อารมณ์ต่างๆ ตลอดถึงไปยึดเอาสิ่งต่างๆ มาไว้ที่จิต จิตเมื่อเห็นโทษทุกข์ทั้งหลาย ที่ยึดเอากิเลสทั้งปวงมาไว้ที่จิตของตน แล้ว ยอมสละถอนจากอารมณ์และกิเลสทั้งปวงจากจิต จิต นั้นก็เป็น ใจ จิต กับ ใจ มีลักษณะอาการต่างกันอย่างนี้ ใจ คือ ผู้เป็นกลาง วางเฉย ไม่คิดนึกอะไรทั้งสิ้น เป็นแต่รู้ตัวอยู่ว่าวางเฉย ใจเป็นธรรมชาติเป็นกลางแท้ กลางไม่มีอดีตอนาคต ไม่มีบุญหรือบาป ไม่ดีและไม่ชั่วนั้นเรียกว่า ใจ สิ่งทั้งปวงหมด ถ้าพูดถึงใจแล้ว จะต้องหมายเอาตรงใจกลางทั้งนั้น แม้แต่ใจของคนซึ่งเป็นนามธรรม ก็ต้องชี้เข้าไปที่ท่ามกลางอก แต่ใจแท้ไม่ทราบว่าอยู่ตรงไหน เราเอาความรู้สึกไปไว้ในกายส่วนใดส่วนหนึ่ง ลองดูซิ จะรู้สึกขึ้นในที่นั้น หรือเอาความรู้สึกนั้นไปไว้ภายนอกกาย เป็นต้น ว่า เอาไปไว้ที่เสาหรือที่ฝาผนังบ้าน ก็จะมีความรู้สึกอยู่ ณ ที่นั้น เป็นอันสรุปได้ว่า ใจแท้ คือ ความรู้สึกเฉยอยู่เป็นกลางๆ เมื่อมีความรู้สึกกลางๆ อยู่ ณ ที่ใด ใจก็อยู่ ณ ที่นั้น ที่ชาวบ้านเขาพูดกันว่า หัวใจๆ นั้น มิใช่ใจแท้ เป็นแต่หทัยวัตถุ เครื่องสูบฉีดเลือดให้ไปหล่อเลี้ยงสรีระร่างกาย เพื่อให้อยู่ได้ ถ้าไม่มีเครื่องสูบฉีดเลือดไปหล่อเลี้ยงร่างกายแล้วกายอันนี้ก็จะอยู่ไม่ได้ต้องตาย สมองก็เหมือนกัน จะคิดดีหรือไม่ดีก็เพราะสมองเป็นเครื่องใช้ของจิตใจ ระบบประสาทของสมองเป็นรูปธรรม เมื่อปัจจัยต่างๆ ของรูปธรรมขาดไป รูปธรรมย่อมอยู่ไม่ได้ต้องดับไป แต่จิตซึ่งเป็นนามธรรมนั้นในพุทธศาสนาท่านว่า ยังเหลืออยู่ เกิดได้อีก นาม ธรรมจะดับก็ต่อเมื่อปัญญาไปรู้เหตุ รู้ผลของนามธรรมนั้น ๆ แล้วถอนมูลเหตุของมันเสีย ศาสตร์ทั้งหลายซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ทั้งหมดสอนกันไม่มีที่สิ้นสุด ยิ่งเรียนยิ่งสอนก็ยิ่งกว้างขวางออกไปทุกที มีพุทธศาสนาเท่านั้นที่สอนให้ถึงที่สุดได้ พุทธศาสนาสอนเบื้องต้นให้รู้จักกาย อันนี้ว่า มีสิ่งต่างๆประกอบกันเข้า จึงเรียกว่าสรีระร่างกาย ( คือ อาการสามสิบสอง) และมีหน้าที่อะไรบ้าง พร้อมกันนั้น ก็สอนให้เห็นเป็นของ อสุภะ เป็นของจริงไปในตัว สอนให้รู้จักโลกอันนี้ (คือ มนุษย์ )ที่ประกอบไปด้วย ทุกข์ ทั้งนั้น ผลที่สุดก็ต้องแตกดับไปตามธรรมดาของมัน ฉะนั้น เมื่อเราเกิดขึ้นมาได้ก้อนนี้แล้ว ถึงจะเป็นของไม่งามเต็มไปด้วย อสุภะ และประกอบไปด้วย ทุกข์ นานัปการก็ตาม แต่เราก็ได้มาพึ่งอาศัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง พึงทำคุณงามความดีใช้หนี้โลกเสียก่อนจะตายไปจากโลกนี้ พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ว่า คน (คือ โลกอันนี้) แตกดับสลายไปเป็นธรรมดา แต่ จิต คือ เจ้าของของโลกนั้น เมื่อมีกิเลสอยู่จะต้องกลับมาเกิดอีก ฉะนั้น พระพุทธองค์จึงทรงสอนให้ฝึกหัดสมาธิ อันเป็นเรื่องของจิตโดยเฉพาะ เมื่อฝึกหัดทำสมาธิเข้าแล้ว หากมีอายตนผัสสะจะรู้สึกอยู่แต่ภายใน คือ จิต ผู้เดียว ผู้เห็นผู้ฟังจะไม่เกี่ยวด้วยตาและหู อายตนผัสสะ จะรู้ด้วยจิตอย่างเดียว (ได้ชื่อว่าทำโลกนี้ให้แคบเข้ามา ) อายตนะทั้งหลายเป็นเครื่องวัด จิต ของตนได้อย่างดีที่สุด เมื่ออายตนะผัสสะมากระทบ จิต ของเรา เราหวั่นไหวไหม เมื่อหวั่นไหวมาก ก็แสดงว่ามีสติน้อย มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ก็ยังน้อย เมื่อหวั่นไหวน้อยหรือไม่หวั่นไหวเสียเลย ก็แสดงว่าเรามีสติมาก มีธรรมเป็นเครื่องอยู่มาก และรักษาตัวได้เลย เปรียบเหมือนกับพระเทวทัตและพระโพธิสัตว์ ย่อมก่อเวรก่อกรรมแก่กันมาโดยตลอด พระโพธิสัตว์ถ้าไม่มีพระเทวทัตก็จะไม่ได้สร้างบารมีให้เต็มเปี่ยม เมื่อบารมีเต็มเปี่ยมแล้วจึงได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก่อนจะตรัสรู้พระองค์ก็ได้ทรงผจญพญามารอันมีแสนยานุภาพมหึมา เมื่อตรัสรู้แล้วก็มีลูกสาวพญามาราธิราชทั้งสามนางมาทดสอบอีกที เป็นอันว่าชาวโลกซ้องสาธุการว่า พระพุทธเจ้าทรงชนะกิเลสเด็ดขาดในโลกนี้โดยสิ้นเชิง เมื่ออายตนะภายในยังมีอยู่ มโนผัสสะก็ยังเป็นอารมณ์อยู่ ฉะนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายมาเห็นโทษสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น จึงยอมถอนออกจากสิ่งเหล่านั้นเสีย ยังคงเหลือแต่ใจ ที่เป็นกลางๆ ๆ ไม่คิด ไม่นึก ไม่ปรุง ไม่แต่ง แล้วโลกอันนี้มันจะมีมาแต่ที่ไหน พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ถึงที่สุดของโลกด้วยประการอย่างนี้ เราพากันมาสำรวมจิตกันเถิด จิตนี้พวกเราเคยปล่อยให้มันเสาะแสวงหาสิ่งที่มันชอบใจมานานแล้ว และสิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้ว แต่จิตมันก็ไม่พอสักทีหาอยู่ร่ำไป เมื่อไรมันจะรู้จักจบจักพอกันสักที คนที่อยู่รอบๆ ตัวของเรานี้ เราก็เห็นตำตาอยู่แล้ว เมื่อตายไปก็ไม่เห็นเอาอะไรไปด้วย แม้แต่ร่างกายอันนี้ ก็ทอดทิ้งถมพื้นแผ่นดินด้วยกันทั้งนั้น แต่จิตที่อยู่นิ่งไม่แส่ส่ายแสวงหาอะไรทั้งหมด ตั้งมั่นอยู่กับพุทโธอันเดียว เรายังไม่เคยได้เลย จงพากันมาภาวนาพุทโธๆ ให้จิตมันหยุดนิ่งอยู่อันเดียว ลองดูซิ บางที จิตที่อยู่กับพุทโธอันเดียว กลับจะได้มากกว่า และเป็นของแปลกประหลาดกว่าที่เป็นมาแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างมันออกจากหนึ่ง สิ่งอันหนึ่งทั้งนั้น เช่น การนับก็ตั้งต้นจากหนึ่งก่อน หนึ่งสองหนก็เป็นสอง หนึ่งสามหนก็เป็นสาม ดังนี้เป็นต้น หรือต้นหมากรากไม้ทั้งปวงก็ออกมาจากหนึ่งทั้งนั้น (คือ รากของมัน ) คนเราก็เหมือนกันเมื่อเกิดมาทีแรก ก็เกิดจากปฏิสนธิจิตดวงเดียวแท้ๆ เมื่อคลอดออกมาแล้วมีอายตนะ ขันธ์ห้า เครื่องใช้หลายอย่าง จิตก็ปรุงแต่งไปหลายอย่างหลายอัน จนนับจิตไม่ถ้วน ไม่ทราบว่าจิตมีกี่ดวง ยุ่งกันไปหมด จิตเดิมแท้เลยไม่เห็น ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงสอนให้ค้นหา จิต คือ ภาวนา พุทโธ เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียว จึงจะเห็นจิต การค้นหาจิตเราจะต้องทำภาวนาพุทโธ ทำให้จิตรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจึงจะเห็นจิตของตน เมื่อเราค้นหาจิตเห็นจิตแล้ว และเห็นว่านี่คือต้นตอของจิต ของสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลกนี้ จิตที่มากหลายอย่างนั้น มันออกไปจากจิตอันเดียวนี้ เมื่อจิตอยู่นิ่งกับพุทโธอันเดียว สรรพกิเลสทั้งหลายก็ไม่มี แล้วจงใช้สติประคองจิตอันนั้นให้นิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวเสียก่อน อย่าให้ส่งส่ายไปมาทุกอริยาบถทั้งสี่ ทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว จนเราจะให้อยู่ก็ได้ หรือเราจะให้คิดค้นพิจารณาในธรรมต่างๆ ก็ได้ หรือคิดค้นธรรมต่างๆ แล้วจะให้มานิ่งอยู่กับใจก็ได้ เมื่อเข้าใจถึงแล้วพุทโธไม่ต้องบริกรรมก็ได้ จิต กับ ใจ มันต่างกัน จิต คือ ผู้คิด ผู้ส่งส่าย ผู้ปรุงแต่ง ใจ คือ ผู้รู้ตัว แล้วนิ่งเฉยไม่คิดไม่นึก เรียกว่าใจดังอธิบายมาข้างต้น เมื่อไม่อยากให้กิเลสมารบกวน จงอย่าคิดนึก ทำใจให้เป็นกลางๆ วางเฉยแล้วนิ่งอยู่ กิเลสทั้งปวงก็จะไม่มารบกวนอีกต่อไป

รูปภาพ

วิธีสร้างความผ่องใสให้กับจิตใจอันแรกเริ่ม เดิมความ ตามจิตแท้ จิตนั้นแล เป็นพุทธะ สุขหนักหนา จิตจุติ แต่หนใด ไร้ที่มา จิตนั้นหนา นานนม ตรมฤดี ทุกคราจิต พิสมัย ใคร่กำหนัด ดำเนินพัฒน์ ปัจจัตตัง ตามวิถี อวิชา พามืดบอด อนันตี ทุกชีวี จิตมืดมน นนทกาล อวิชา พาใจ ให้ยืดสุข แต่ลืม ทุกข์คู่ กันไป ในแก่นสาร มิอาจแยก จากกันไกล แต่ช้านาน สุขทุกข์พาน พบเจอ เป็นเกลอกัน ทั้งอินทร์ พรหม ยมยักต์ รวมสัตว์โลก เต็มหมื่นโลกธาตุไซร้ ให้โศกสันต์ หลงกันอยู่ในวัตถะ สงสารกัน ทั่วทุกชั้น ยังเวียนสุข ทุกข์กันไป ยังมิอาจ จะตัดภพ และตัดชาติ กิเลสขาด จากดวงจิต สิ้นสงสัย ยัง รับ รู้ จด จำ อุปทานไป สร้างชาติ ภพ ประสบใหม่ ใคร่ยินดี ต้องเร่งศิล สมาธิ และปัญญา ภาวนา ตามหลัก อริยสัจสี่ เจริญธรรม ลงสู่จิต ทั้งอินทรีย์ สิ้นกันที กับกองไฟ ไหม้หัวมา อันว่าธรรมนั้นว่ายาก ก็ยากได้ จะว่าง่าย แสนง่าย ไม่หนักหนา แต่ตัวเรา เขาสัตว์ ยังคณา ว่าเป็นเรา เขา ข้า ชั่งน่ากลัว ยังคงติด ยึดบ่วงกรรม ดำกิเลส ทุกประเทศ เพศ ภพ ประสบทั่ว โอกาสดี มีชัย จงเตรียมตัว พบผู้สอน ให้ละชั่ว พึงกราบกราน อันว่ามีด เหล็กหนา พาเห็นแน่ แต่เบื้องแท้ ที่มา น่าสงสาร ต้องทนร้อน ทนทุบ อยู่ช้านาน ทั้งไฟผลาญ หินฝน จนได้คม จะหลุดได้ พ้นได้ ต้องสลัด ต้องพานพลัด พลาดอยาก มากขื่นขม ต้องทิ้งละ โกรธ โลภ และหลง ตรม อีกทั้งปลง ในวัฎฏะ ไตรลักษณ์กัน จะได้มา ซื่งหลุด พ้นกิเลส มิเหลือเศษ เหลือหลง ให้โศกสันต์ ใช้ปัญญา พิจารณา ให้เร็วพลัน ชีวานั้น ใช่ยืด และยืนนาน กิเลสดุจ ไปกราน ผลาญศรีษะ เมื่อไหลหละ จะดับไป ในสังขาร ดับวันนี้ วันไหน อย่าช้านาน พอถึงกาล เวลาหมด ชดใช้กรรม ทางสายกลาง ทางเดียวไหน ให้รู้แน่ ธรรมแท้แท้ แน่นหนัก ละโศกสันต์ คือธรรมที่ ชี้ทาง สว่างพลัน มิเกิดกัน อีกอยู่ ทุกผู้ตน จงเบื่อหน่าย คลายเมา ในกิเลส ปฏิเสธ ยึดติด มีสิทธิ์ขน ว่าตัวกู ของกู เป็นของตน เวลาป่น เป็นธุรี ขี้เถ้าใคร ไม่ขนแบก แอกหนัก สรรพสิ่ง ให้ประวิง หวาดหวั่น พลันสั่นไหว ขนาดตัว ของตัวเอง ยังบรรลัย เกิด แก่... ตาย แปรไป ตามเวลา แม้แต่ธรรม ความรู้ ก็อยากแบก ให้ละแยก นิวรไป อย่าถือสา ประตูโลก พระนิพพาน สราญตา ยังเล็กกว่า ผ่าเกสา ถึงสามที อันบึงเล็ก บึงใหญ่ ต่างสันฐาน ลึกประมาณ โคลนตม สมวิถี มีแต่สิ่ง ปฏิกูล ถมทวี ในน้ำมี ทั้งเพทภัย ให้พบพา เปรียบดั่ง โลกธาตุใหญ่ ใส่กิเลส มีสาเหตุ ให้ดึงฉุด ทรุดหนักหนา ฝังบัวน้อย เหง้าลึก สุดคณา กว่าจะเกิด ผุดขึ้นมา แต่ช้านาน อันผลบ่วง ห่วงกรรม ชักนำจิต ตนมีสิทธิ ที่จะทำ นำสังขาร ให้ดอกลึก ดอกตื้น หรือพ้นพาน จากหมู่มาร ที่พานพบ ประสบกัน กว่าจะได้เป็น บัวเหล่า เถาที่หนึ่ง ต้องผ่านซึ่ง ทุกข์ทน ปนทั้งนั้น สะสมบุญ บารมีกัน แต่นานวัน ตัวเรานั้น ถือโชคดี ที่เกิดมา ได้พานพบ พุทธศาสตร์ สรนะแท้ น้อยกว่าแค่ หนึ่งหัวเต่า ในไพรศา พระสมุทร ผุดพลัน โผล่ขึ้นมา ได้พบพา ลอดห่วงพลุ๊ด เข้าพอดี เมื่อเป็นบัว ได้ผุดพ้น พบพุทธศาสตร์ อภิวาท วันทา เหนือเศียรศรี ปวารณา ไตรสรณะ ขณะมี ประพฤติดี ตามกฏ รสพระธรรม

รูปภาพ